760 likes | 1.33k Views
วิธีการแก้ไขจุดเสี่ยง ณ บริเวณทางแยก. อย่างมีประสิทธิภาพ. (Black Spot Improvement). ร .ศ.ดร. กัณวีร์ กนิษฐ์พงศ์. สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย. มาตรการทางด้านความปลอดภัยทางถนน. Accident Reduction การลดอุบัติเหตุ. Accident Prevention การป้องกันอุบัติเหตุ. การวางแผนและการออกแบบถนนที่ปลอดภัย.
E N D
วิธีการแก้ไขจุดเสี่ยง ณ บริเวณทางแยก อย่างมีประสิทธิภาพ (Black Spot Improvement) ร.ศ.ดร. กัณวีร์ กนิษฐ์พงศ์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
มาตรการทางด้านความปลอดภัยทางถนนมาตรการทางด้านความปลอดภัยทางถนน Accident Reduction การลดอุบัติเหตุ Accident Prevention การป้องกันอุบัติเหตุ การวางแผนและการออกแบบถนนที่ปลอดภัย การปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน
การแก้ไขและปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตรายการแก้ไขและปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย • กระบวนการตรวจสอบจุดเสี่ยงอันตราย ทำได้โดยการวิเคราะห์ข้อมูลอุบัติเหตุ การตรวจสอบจุดเสี่ยง และการวางแนวทางในการแก้ไข • ได้ผลที่มีประสิทธิภาพสูงในการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ • เป็นวิธีที่ความคุ้มค่าสูง และควรให้ความสำคัญเป็นหลัก
ขั้นตอนการแก้ไขและปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตรายขั้นตอนการแก้ไขและปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย
1) ตั้งเป้าหมายในการทำงาน • ควรมีการตั้งเป้าหมายในการลดจำนวนอุบัติเหตุ ผู้เสียชีวิต และผู้บาดเจ็บ • เป้าหมายที่ตั้งไว้มีความเป็นไปได้ • เริ่มจากความเข้าใจในสถานการณ์ของอุบัติเหตุ โดยอาศัยฐานข้อมูลอุบัติเหตุ
2) การกำหนดจุดเสี่ยงอันตราย • เพื่อแสดงว่าอุบัติเหตุเกิดขึ้นบนถนนตำแหน่งในบ่อยที่สุดที่ต้องได้รับการแก้ไขและการปรับปรุง • จุดเสี่ยงอันตราย เช่น ทางแยก สะพาน ทางโค้ง • ช่วงถนนเสี่ยงอันตราย • วิธีที่ใช้ในการกำหนดจุดเสี่ยง • กำหนดจุดเสี่ยงโดยใช้จำนวนอุบัติเหตุ และจำนวนผู้เสียชีวิต • คำจำกัดความของ “จุดเสี่ยงอันตราย” อาจแตกต่างกัน เช่น • อุบัติเหตุที่มีผู้บาดเจ็บ 5 ครั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี • อุบัติเหตุที่มีผู้เสียชีวิต 10 ครั้ง ภายในระยะเวลา 1 ปี • ใช้ข้อมูลอุบัติเหตุเป็นหลัก แต่อาจใช้วิธีการมีส่วนร่วมของประชาชนได้ด้วย
ตัวอย่างแผนที่แสดงตำแหน่งของอุบัติเหตุตัวอย่างแผนที่แสดงตำแหน่งของอุบัติเหตุ
3) การวิเคราะห์จุดเสี่ยงอันตราย • ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลอุบัติเหตุอย่างละเอียด เพื่อหาลักษณะและรูปแบบการชนที่บริเวณจุดเสี่ยงอันตราย • การตรวจสอบภาคสนามในบริเวณพื้นที่จุดเสี่ยงเพื่อดูสภาพปัญหาจริง • ชี้สาเหตุของปัญหาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ซึ่งสามารถใช้ในการกำหนดวิธีการในการแก้ไขและปรับปรุงต่อไป
ข้อมูลและขั้นตอนในการวิเคราะห์จุดเสี่ยงอันตรายข้อมูลและขั้นตอนในการวิเคราะห์จุดเสี่ยงอันตราย
ตัวอย่างของตารางสรุปรูปแบบการเกิดอุบัติเหตุตัวอย่างของตารางสรุปรูปแบบการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวอย่างของแผนผังการชน (Collision Diagram)
ตัวอย่างสาเหตุการชนรูปแบบต่างๆตัวอย่างสาเหตุการชนรูปแบบต่างๆ • การชนมุมฉากที่บริเวณทางแยกที่มีสัญญาณไฟจราจร • ระยะการมองเห็นไม่เพียงพอ • รถวิ่งเข้าทางแยกด้วยความเร็วสูง • ป้ายจราจรหรือสัญญาณไฟจราจรไม่ชัดเจน • แสงสว่างไม่เพียงพอ • ไม่มีป้ายเตือนล่วงหน้าว่ามีทางแยก • มีปริมาณจราจรสูงบริเวณทางแยก • ระยะการปล่อยสัญญาณไฟสั้นเกินไป
ตัวอย่างสาเหตุการชนรูปแบบต่างๆตัวอย่างสาเหตุการชนรูปแบบต่างๆ • การชนท้ายที่บริเวณทางแยกที่มีสัญญาณไฟจราจร • ผิวถนนลื่น • มีปริมาณรถเลี้ยวมาก • ป้ายจราจรหรือสัญญาณไฟจราจรไม่ชัดเจน • ไม่มีป้ายจราจรหรือสัญญาณไฟจราจร • รถวิ่งเข้าทางแยกด้วยความเร็วสูง • แสงสว่างไม่เพียงพอ • ระยะการปล่อยสัญญาณไฟสั้นเกินไป
ตัวอย่างสาเหตุการชนรูปแบบต่างๆตัวอย่างสาเหตุการชนรูปแบบต่างๆ • การชนมุมฉากที่บริเวณทางแยกที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจร • ระยะการมองเห็นไม่เพียงพอ • มีปริมาณจราจรสูงบริเวณทางแยก • รถวิ่งเข้าทางแยกด้วยความเร็วสูง • ป้ายจราจรหรือสัญญาณไฟจราจรไม่ชัดเจน • แสงสว่างไม่เพียงพอ • ไม่มีป้ายเตือนล่วงหน้าว่ามีทางแยก
ตัวอย่างสาเหตุการชนรูปแบบต่างๆตัวอย่างสาเหตุการชนรูปแบบต่างๆ • การชนท้ายที่บริเวณทางแยกที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจร • คนขับรถไม่ทันสังเกตเห็นทางแยก • ผิวถนนลื่น • มีปริมาณรถเลี้ยวมาก • แสงสว่างไม่เพียงพอ • รถวิ่งเข้าทางแยกด้วยความเร็วสูง • การเว้นระยะห่างระหว่างรถไม่เพียงพอ • มีคนเดินข้ามถนน
ตัวอย่างสาเหตุการชนรูปแบบต่างๆตัวอย่างสาเหตุการชนรูปแบบต่างๆ • รถชนคนเดินเท้า • ระยะการมองเห็นไม่เพียงพอ • ไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนข้ามถนน • ทางข้ามบริเวณหน้าโรงเรียน • ไม่มีป้ายจราจรหรือสัญญาณไฟจราจรสำหรับคนข้ามถนน
4) การแก้ไขและปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย • พิจารณาวิธีการแก้ไขปัญหาที่รอบด้าน • เลือกวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีความคุ้มค่ามากที่สุด • จัดลำดับความสำคัญของวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหา
รูปแบบการชน:การชนมุมฉาก (Right angle) บริเวณทางแยกที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจร
รูปแบบการชน: การชนท้าย (Rear end) บริเวณทางแยกที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจร
รูปแบบการชน: การชนกับรถเลี้ยวขวาบริเวณทางแยกที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจร
รูปแบบการชน: การชนมุมฉาก (Right angle) บริเวณทางแยกที่มีสัญญาณไฟจราจร
รูปแบบการชน: การชนท้าย (Rear end) บริเวณทางแยกที่มีสัญญาณไฟจราจร
รูปแบบการชน: การชนท้าย (Rear end) บริเวณทางแยกที่มีสัญญาณไฟจราจร (ต่อ)
5) การติดตามและประเมินผล • ควรมีการติดตามและประเมินผลถึงวิธีที่ใช้ในการแก้ไขและปรับปรุงจุดเสี่ยงว่าได้ผลที่มีประสิทธิภาพจริงหรือไม่ • เปรียบเทียบก่อนและหลังการแก้ไขและปรับปรุงจุดเสี่ยง • ประโยชน์ที่ได้รับ • เพื่อพิจารณาว่าวิธีใดที่ใช้ในการแก้ไขและปรับปรุงจุดเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับจุดเสี่ยงตำแหน่งนั้นๆ ซึ่งสามารถนำไปใช้กับจุดเสี่ยงบริเวณอื่นที่มีความเสี่ยงลักษณะคล้ายกันได้ • สามารถเสนอแนวทางการแก้ไขในระดับนโยบายเพื่อจัดสรรงบประมาณในการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ
ตัวอย่างการวิเคราะห์อุบัติเหตุที่จุดเสี่ยงอันตราย (เหตุสมมติ) • สถานที่เกิดเหตุ: สามแยกที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรเส้นแบ่งการจราจรไม่ชัดเจน ตัดระหว่างถนนเพาะนิยม และ ถนนข้างรพ.ศูนย์อุดรฯ อ.เมือง จ.อุดรธานี (สามแยกหน้าหนองประจักษ์) • ข้อมูลอุบัติเหตุ: 2 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553-2554 (อุบัติเหตุเกิดขึ้นทั้งหมด 8กรณี)
ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นที่ 1 ศึกษารายงานอุบัติเหตุ ขั้นที่ 2 สรุปข้อมูลอุบัติเหตุ โดยแบ่งตามวัน เวลา เดือน สภาพแสงสว่าง สภาพพื้นผิวถนน และ รูปแบบของอุบัติเหตุ เป็นต้น ขั้นที่ 3 ระบุ รูปแบบของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเป็นประจำ ขั้นที่ 4 ระบุสาเหตุที่เป็นไปได้ ของรูปแบบของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเป็นประจำ และข้อมูลที่จำเป็นต้องตรวจสอบภาคสนาม ขั้นที่ 5 ตรวจสอบภาคสนาม เพื่อระบุประเด็นและข้อบกพร่องทางด้านความปลอดภัย ซึ่งนำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ ขั้นที่ 6 เสนอแนะมาตราการแก้ไขปัญหา
ขั้นที่ 1 ศึกษารายงานอุบัติเหตุ • เพื่อให้เข้าใจองค์ประกอบและข้อมูลของอุบัติเหตุ ซึ่งระบุในรายงานอุบัติเหตุ • เพื่อระบุข้อมูลที่สำคัญและมีประโยชน์ สำหรับการวิเคราะห์อุบัติเหตุอย่างละเอียด
ขั้นที่ 2 สรุปข้อมูลอุบัติเหตุ • เพื่อระบุจำนวนและร้อยละของอุบัติเหตุ ตามหมวดหมู่ทั้ง 9 ดังนี้ • ปี • เดือน • วัน • เวลา • ประเภทของอุบัติเหตุ • ความรุนแรง • แสงสว่าง • สภาพพื้นผิวจราจร • ปัจจัยทางด้านความเร็ว • โดยการประยุกต์ใช้ตารางสรุปข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวอย่างของตารางสรุปรูปแบบการเกิดอุบัติเหตุตัวอย่างของตารางสรุปรูปแบบการเกิดอุบัติเหตุ
ขั้นที่ 3 ระบุรูปแบบของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเป็นประจำ • เพื่อระบุประเภทของอุบัติเหตุ ซึ่งเกิดขึ้นบ่อย ๆ ในบริเวณเดิม • ร่างแผนผังการชน (collision diagram)
แผนผังการชนของอุบัติเหตุบริเวณทางแยกหน้าหนองประจักษ์ ถ.เพาะนิยม • 7ใน อุบัติเหตุ 8ครั้ง เป็นอุบัติเหตุชนมุมฉาก (right-angled crashes) น อ 1 2 1 4
ขั้นที่ 4 ระบุสาเหตุที่เป็นไปได้ของรูปแบบของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเป็นประจำและข้อมูลที่จำเป็นต้องตรวจสอบภาคสนาม • ระบุสาเหตุที่เป็นไปได้ของรูปแบบอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเป็นประจำซึ่งได้มาจากข้อมูลอุบัติเหตุ • จัดเตรียมข้อมูล ที่จำเป็นที่จะต้องเก็บรวบรวมภาคสนาม หรือแหล่งข้อมูลอื่น ๆ
สาเหตุที่เป็นไปได้ ของการชนด้านข้าง บริเวณทางแยกที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจร • การมองเห็นถูกบดบัง • ปริมาณการจราจรบริเวณทางแยกสูง • มีการใช้ความเร็วสูง • แสงสว่างไม่เพียงพอ • ป้ายจราจรแบบเตือนไม่เพียงพอ • การควบคุมจราจรไม่เหมาะสม
สาเหตุที่เป็นไปได้ ของการชนด้านข้าง บริเวณทางแยกที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจร • ระยะการมองเห็นถูกจำกัด- เป็นไปได้ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องตรวจสอบ ภาคสนาม (ฝั่งตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงใต้) • ปริมาณการจราจรบริเวณทางแยกสูง- เป็นไปได้ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องตรวจสอบ ปริมาณการจราจร • มีการใช้ความเร็วสูง- เป็นไปได้ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องตรวจสอบ ความเร็ว โดยเฉพาะการจราจรมุ่งหน้าทิศตะวันออก • แสงสว่างไม่เพียงพอ- เป็นไปได้น้อย เนื่องจากอุบัติเหตุส่วนมากเกิดเวลา กลางวัน หรือ มีแสงสว่างไฟฟ้าส่องถนน • ป้ายจราจรแบบเตือนไม่เพียงพอ - เป็นไปได้ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องตรวจสอบภาคสนาม (โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง การจราจรมุ่งหน้าทิศเหนือ) • การควบคุมจราจรไม่เหมาะสม- เป็นไปได้ อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องตรวจสอบภาคสนาม (โดยเฉพาะ ป้ายหยุด และเครื่องหมายหยุด สำหรับการจราจรมุ่งหน้าทิ
ประเด็นปัญหาที่จำเป็นต้องตรวจสอบในภาคสนามประเด็นปัญหาที่จำเป็นต้องตรวจสอบในภาคสนาม N E ป้ายจราจรแบบเตือน สำหรับทางแยก? ความเร็ว และปริมาณจราจร สำหรับการจราจรมุ่งหน้าทิศตะวันออก ป้ายจราจรแบบเตือน สำหรับทางแยก? บดบังการมองเห็น ? ป้าย หรือ เครื่องหมายหยุด?
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบภาคสนาม • เพื่อระบุประเด็นและข้อบกพร่องทางด้านความปลอดภัย ซึ่งนำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ • เน้นสิ่งที่อาจจะเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุ แต่มีประโยชน์ในการระบุประเด็นที่อาจจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุประเภทอื่นได้
ระบุประเด็นและข้อบกพร่องทางด้านความปลอดภัยระบุประเด็นและข้อบกพร่องทางด้านความปลอดภัย • มีสิ่งกีดขวางบดบังการมองเห็นบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศตะวันออกเฉียงใต้ • ขาดป้ายจราจรแบบเตือน สำหรับทางแยกและเครื่องหมายจราจรหยุด • ป้ายจราจรแบบเตือน สำหรับทางแยก – ???? • ปริมาณการจราจรและความเร็วของรถบนถนนเพาะนิยมค่อนข้างสูง
ขั้นที่ 6 เสนอแนะมาตรการแก้ไขปัญหา • เสนอแนะมาตรการแก้ไขที่เป็นไปได้ ซึ่งได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลอุบัติเหตุและการตรวจสอบภาคสนาม หลาย ๆ ประเด็น
ขั้นที่ 6 เสนอแนะมาตรการแก้ไขปัญหา ประเด็นที่เป็นปัญหา • การมองเห็นทิศตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงใต้ ถูกบดบังโดยสิ่งกีดขวาง • ขาดการควบคุมการจราจรที่บริเวณทางแยก • การจราจรบน ถ.เพาะนิยมมีความเร็วสูง • ปริมาณการจราจรมากบนถนนเพาะนิยม แนวทางเลือกสำหรับมาตรการแก้ไข • ตัด หรือ ย้าย สิ่งกีดขวางออก • ติดตั้งป้ายและเครื่องหมายหยุด • ติดตั้งลูกระนาด (Rumble strips) บน ถ.เพาะนิยมเพื่อเตือนผู้ขับขี่ • เพิ่มระดับการบังคับใช้กฏหมายในเรื่องความเร็ว บน บน ถ.เพาะนิยม • ปรับปรุงทางข้ามให้ชัดเจน • ปรับปรุงการควบคุมจราจรให้อยู่ในรูปแบบวงเวียน
ข้อดีของวงเวียน • ช่วยลดความเร็วของจราจรขณะเข้าทางแยก และลดความรุนแรงของอุบัติเหตุ • ปรับปรุงทางแยกให้มีความปลอดภัยมากขึ้น โดยเฉพาะ • ทางแยกที่ตัดกันแบบไม่เป็นมุมฉาก • ทางแยกที่มองเห็นได้ไม่ชัดเจน • ทางแยกที่มีทัศนะวิสัยการขับขี่ไม่ดี • ทำให้ผ่านทางแยกได้เร็วขึ้น ไม่ต้องรอสัญญาณไฟจราจร • มีการไหลลื่นของจราจรผ่านทางแยกดีขึ้น 15% • ประหยัดพลังงานได้ถึง 30% • เพิ่มความสวยงานให้กับทางแยกได้ • ไม่ต้องดูแลรักษาสัญญาณไฟจราจร
ปริมาณจราจรที่เหมาะสมของวงเวียน (คัน ต่อ วัน) [ves1]add