1 / 66

กองคลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

กองคลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ. 2549.

Download Presentation

กองคลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองคลังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนากองคลังมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

  2. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ. 2549

  3. จุดประสงค์: เพื่อให้ส่วนราชการสามารถเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับ ค่าใช้จ่ายการบริหารงาน ได้สะดวกคล่องตัว มีความยืดหยุ่น สามารถใช้บริหารจัดการได้อย่างเหมาะสม ค่าใช้จ่าย หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการบริหารของส่วนราชการที่เบิกจ่ายจากงบดำเนินงานในลักษณะ ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค หรืองบรายจ่ายอื่นในลักษณะเดียวกัน

  4. ประเด็นหลัก การเบิกจ่ายเงินราชการ บุคคลอ้างว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้ ( ของกรมสารบรรณ คณะรัฐมนตรี ฝ่ายบริหาร ปี พ.ศ. 2497 ยังมีผลบังคับใช้อยู่ ณ ปัจจุบัน )

  5. การเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ต้องปฏิบัติตามระเบียบ และกฎหมายโดยเคร่งครัด ข้อควรระวัง • ความผิดทางการละเมิด - ชดใช้คืน • ความผิดทางวินัยงบประมาณ และการคลัง - หักเงินเดือน • ความผิดร้ายแรง ผิดจรรยาบรรณ - ลงโทษทางวินัย ความผิดทางวินัยประกอบด้วย เกิดความเสียหาย ต่อทางราชการ เจตนา จงใจ และความประมาท

  6. สามารถลดความผิดพลาดในการทำงานได้ดังนี้สามารถลดความผิดพลาดในการทำงานได้ดังนี้ • ตั้งใจทำงาน • ศึกษากฎระเบียบในการทำงานที่เกี่ยวข้อง ให้เข้าใจชัดเจน และถูกต้อง • หากไม่รู้ ไม่แน่ใจ ให้ศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติม ข้อมูลเพิ่มเติมหาได้จาก.. • กองคลัง • การเงิน • กระทรวงการคลัง จาก โทรศัพท์ หรืออินเตอร์เน็ต (www.mof.go.th)

  7. กฎหมาย ระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้อง • กฎหมายรัฐธรรมนูญ • กฎหมายวิธีการงบประมาณ • กฎหมายเงินคงคลัง • ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง • ระเบียบพัสดุ 7. ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544 8. พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539

  8. ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544 วัตถุประสงค์  เพื่อประสิทธิภาพ - ระบบการควบคุม - ระบบการตรวจสอบ  รักษาวินัยทางงบประมาณและการคลัง  แก้ปัญหาปฏิบัติผิดระเบียบซ้ำซาก  เป็นมาตราการป้องปราม

  9. ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544 การบังคับใช้ 1. ใช้หลักทั่วไปตามกฎหมายอาญา มาปรับใช้ 2. ผู้จงใจฝ่าฝืนมาตรการ ทำผิดครบองค์ประกอบ ที่กำหนดเป็นความผิด 3. แม้ได้รับโทษตามกฎหมายอื่นแล้ว หากทำผิด ระเบียบนี้ ก็ต้องรับโทษนี้อีก 4. ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม 2544

  10. การบริหารงบประมาณ

  11. งบบุคลากร เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทนประจำตำแหน่ง การจัดสรรงบประมาณหลัก

  12. งบดำเนินงาน ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค

  13. งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง

  14. งบอุดหนุน ค่าตอบแทนพนักงาน ทุนการศึกษา / ฝึกอบรม งานวิจัย

  15. งบรายจ่ายอื่น ๆ ค่าใช้จ่ายในการดำเนิน โครงการต่าง ๆ

  16. งบกลาง สวัสดิการ ค่าเล่าเรียนบุตร ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนถึงระดับปริญญาตรี ค่ารักษาพยาบาล ผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอก

  17. หลักเกณฑ์การจ่ายเงินงบประมาณของส่วนราชการหลักเกณฑ์การจ่ายเงินงบประมาณของส่วนราชการ • การจ่ายเงินหรือการก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะตามที่กำหนดไว้ใน พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี และต้องได้รับการอนุมัติเงินประจำงวดก่อน • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลังฯ • เจ้าของงบประมาณจะจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะที่มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง กำหนดไว้หรือมติคณะรัฐมนตรีอนุญาตให้จ่ายได้ หรือตามที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวงการคลังและผู้มีอำนาจอนุมัติให้จ่ายได้

  18. รายจ่ายที่เบิกจ่ายได้ กฎหมาย กระทรวงการคลัง ระเบียบ อนุมัติให้จ่ายได้ มติคณะรัฐมนตรีคำสั่ง ข้อบังคับ

  19. หลักดุลยพินิจอ้างที่ กค 0502/ว 101 ลว. 10 ก.ค. 2533 • การจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันงบประมาณในงบดำเนินงาน (ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ หรืองบอื่นใดที่เบิกจ่ายในลักษณะดังกล่าว) • เงื่อนไข * กรณีที่ไม่มี กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติ ค.ร.ม. หรือรายการที่กระทรวงการคลังอนุญาตให้จ่ายในเรื่องนั้น ๆ ไว้แล้ว • ให้ดุลยพินิจ ของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ อนุมัติจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามหลักความจำเป็นและประหยัด เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่หลักของหน่วยงาน

  20. ค่าตอบแทน หมายถึง เงินที่จ่ายตอบแทนให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงาน ให้ทางราชการตามที่กระทรวงการคลังกำหนด

  21. ค่าตอบแทน ประกอบด้วย ค่าอาหารทำการนอกเวลาราชการ ค่าควบคุมงานก่อสร้าง ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าสอนพิเศษ

  22. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินค่าสอนพิเศษ และค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษา และสถาบันอุดมศึกษา

  23. การเบิกจ่ายเงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนการเบิกจ่ายเงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอน ยกเลิก • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินค่าสอนพิเศษในสถานศึกษาของทางราชการ พ.ศ. 2533 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินค่าสอนพิเศษในมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2533 • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายค่าสอนพิเศษในมหาวิทยาลัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2538

  24. การเบิกจ่ายค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนการเบิกจ่ายค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอน การสอน 1 หน่วยชั่วโมงต้องมีเวลาไม่น้อยกว่า 50นาที เงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนให้เบิกจ่าย ในหลักสูตรปกติของสถานศึกษาหรือสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งมิใช่การสอนในหลักสูตรภูมิภาคฤดูร้อนหรือหลักสูตรเสริมพิเศษเฉพาะด้าน

  25. เงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษา เงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษา ผู้มีสิทธิ • ผู้สอนที่เป็นข้าราชการหรือลูกจ้างของทางราชการที่ดำรงตำแหน่งประจำในสถานศึกษานั้น • ข้าราชการและลูกจ้างของสถานศึกษาซึ่งไม่มีหน้าที่ในการสอนแต่ได้รับคำสั่งให้สอนในสถานศึกษานั้น • ผู้ได้รับเชิญให้สอนในสถานศึกษาในฐานะครูพิเศษหรืออาจารย์พิเศษ

  26. อาจารย์ประจำที่ได้รับเงินเดือนจากงบบุคลากรอาจารย์ประจำที่ได้รับเงินเดือนจากงบบุคลากร • ระเบียบมีสิทธิได้รับค่าสอนสำหรับชั่วโมงที่สอนเกินภาระงานสอนชั่วโมงสอนทฤษฏีและปฏิบัติมีสิทธิได้รับค่าสอนเท่ากันเบิกภาคเรียนละ1ครั้ง • ปัญหาที่เกิดได้รับงบประมาณจำกัด ชั่วโมงสอนปฏิบัติมีอาจารย์ผู้สอนมากกว่า 1 คนไม่เป็นไปตามมาตรการเร่งรดการใช้จ่าย แนวทางแก้ไขทำหนังสือตกลงกับกระทรวงการคลังดังนี้ • มทร. สามารถกำหนดชั่วโมงสอนที่มีสิทธิเบิกได้ภายในงปม. ที่ได้รับ (ล็อกการเบิก ที่ชั่วโมงสอน) เพื่อแก้ไขเรื่องการได้รับงบประมาณอย่างจำกัด • ให้มทร. สามารถวางหลักเกณฑ์สำหรับการสอนภาคปฏิบัติได้เพื่อแก้ไขเรื่องการสอนทฤษฎีเท่ากับการปฏิบัติ • ให้มทร. สามารถเบิกค่าสอนเดือนละครั้งในแต่ละภาคเรียนโดยกำหนดภาระชั่วโมงสอนได้ภายใต้จำนวนชั่วโมงที่กระทรวงการคลังกำหนดเพื่อแก้ไขเรื่องมาตรการเร่งรัดการใช้จ่าย

  27. อัตราเงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษาอัตราเงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา

  28. การสอนในสถาบันอุดมศึกษาที่ผู้สอนมีสิทธิได้รับค่าสอนเกินภาระงานสอนสำหรับ หน่วยชั่วโมงที่สอนนอกเหนือจากหน่วยชั่วโมงที่ต้องทำการสอนใน 1 ภาคการศึกษา

  29. การสอนในสถาบันอุดมศึกษาที่มีการสอนระดับต่ำกว่าปริญญาตรีที่ผู้สอนมีสิทธิได้รับค่าสอนเกินภาระงานการสอนในสถาบันอุดมศึกษาที่มีการสอนระดับต่ำกว่าปริญญาตรีที่ผู้สอนมีสิทธิได้รับค่าสอนเกินภาระงาน

  30. อาจารย์ประจำที่ได้รับเงินเดือนจากงบบุคลากรอาจารย์ประจำที่ได้รับเงินเดือนจากงบบุคลากร ระเบียบมีสิทธิได้รับค่าสอนสำหรับชั่วโมงที่สอนเกินภาระงานสอน ชั่วโมงสอนทฤษฏีและปฏิบัติมีสิทธิได้รับค่าสอนเท่ากัน เบิกภาคเรียนละ 1 ครั้ง ปัญหาที่เกิด ได้รับงบประมาณจำกัด ชั่วโมงสอนปฏิบัติมีอาจารย์สอนมากกว่า 1 คน ไม่เป็นไปตามมาตรการเร่งรัดการใช้จ่าย แนวทางการแก้ไข ทำหนังสือตกลงกับกระทรงการคลัง ดังนี้ มทร. สามารถกำหนดชั่วโมงสอนที่มีสิทธิเบิกได้ภายใน งปม. ที่ได้รับ (ล็อกการเบิกที่ชั่วโมงสอน) เพื่อแก้ไขเรื่องการได้รับงบประมาณอย่างจำกัด ให้มทร. สามารถวางหลักเกณฑ์สำหรับการสอนภาคปฏิบัติได้เพื่อแก้ไขเรื่องการสอนทฤษฏีเท่ากับปฏิบัติ ให้มทร. สามารถเบิกค่าสอนเดือนละครั้งในแต่ละภาคเรียนโดยกำหนดภาระชั่วโมงสอนได้ภายในจำนวนชั่วโมงที่กระทรวงการคลังกำหนด เพื่อแก้ไขเรื่องมาตรการเร่งรัดการใช้จ่าย

  31. อาจารย์พิเศษที่ได้รับเชิญให้สอนในสถาบันอุดมศึกษาอาจารย์พิเศษที่ได้รับเชิญให้สอนในสถาบันอุดมศึกษา ระเบียบ เบิกภาคเรียนละครั้ง ปัญหาที่เกิด ได้รับเงินล่าช้า แนวทางแก้ไข ขอตกลงกับกระทรวงการคลัง เช่นเดียวกับอาจารย์ประจำ

  32. อาจารย์พนักงานมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินเดือนจากงบอุดหนุนอาจารย์พนักงานมหาวิทยาลัยที่ได้รับเงินเดือนจากงบอุดหนุน ระเบียบ เบิกจากเงินงบประมาณไม่ได้ ปัญหาที่เกิด ไม่มีระเบียบรองรับ แนวทางแก้ไข ขอตกลงกับกระทรวงการคลังให้มหาวิทยาลัยสามารถเบิกค่าสอน จากงบประมาณได้ ภายในงบประมาณที่ได้รับ

  33. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550

  34. - ต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการก่อนปฏิบัติงาน โดยให้ผู้อนุมัติพิจารณาช่วงเวลาที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ทางราชการสำคัญ - กรณี ต้องปฏิบัติงานไปก่อน โดยมิได้ขออนุมัติไว้ ให้ดำเนินการขออนุมัติโดยไม่ชักช้า โดยแจ้งเหตุความจำเป็นที่ไม่อาจขออนุมัติก่อนได้ - กรณีที่ได้รับคำสั่งให้เดินทางไปราชการ ตามระเบียบว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการฯ ไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทน - เว้นแต่ ได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการอยู่ก่อนเดินทาง และเมื่อเดินทางเสร็จสิ้นและกลับถึงที่ตั้งสำนักงาน จำเป็นต้องปฏิบัติงานนอกเวลาในวันนั้นให้เบิกค่าตอบแทนได้ หลักเกณฑ์

  35. หลักเกณฑ์ต่อ การปฏิบัติงานต่อไปนี้ เบิกไม่ได้ • ระเบียบหรือคำสั่ง การอยู่เวรรักษาการณ์ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยของสถานที่ราชการ • การปฏิบัติงานนอกเวลาที่ไม่เต็มชั่วโมง การควบคุม • กรณีมีหลายคนร่วมปฏิบัติงานให้คนใดคนหนึ่งเป็นผู้รับรอง หากปฏิบัติคนเดียว ให้รับรองตนเอง • ให้รายงานผลการปฏิบัติต่อผู้อนุมัติภายใน 15 วันนับแต่เสร็จ

  36. การเบิกจ่ายค่าอาหารทำการนอกเวลาราชการการเบิกจ่ายค่าอาหารทำการนอกเวลาราชการ วันราชการปกติชั่วโมงละ 50 บาท วันหยุดราชการชั่วโมงละ 60 บาท

  37. ค่าสาธารณูปโภค รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการไปรษณีย์

  38. วัสดุ หมายถึง สิ่งของซึ่งโดยสภาพเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้นเปลืองหมดไป แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม หรือสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท

  39. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการ พัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549

  40. ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ โดยตำแหน่ง โดยแต่งตั้ง • เจ้าหน้าที่พัสดุ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว โดยตำแหน่ง โดยแต่งตั้ง • หน.เจ้าหน้าที่พัสดุ ข้าราชการ

  41. ผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ (ต่อ) อธิบดี (ส่วนกลาง) ผู้ว่าราชการจังหวัด (ภูมิภาค) หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงาน หน. จนท.พัสดุ (ตกลงไม่เกิน๑๐๐,๐๐๐) หส. ราชการ ปลัดกระทรวง รัฐมนตรี ผู้มีอำนาจอนุมัติ

  42. วิธีการซื้อ/จ้าง ตกลงราคา สอบราคา ประกวดราคา วิธีพิเศษ กรณีพิเศษ ไม่เกิน 100,000 เกิน 100,000 ไม่เกิน 2,000,000 เกิน 2,000,000 (ระเบียบ 49 E – Auction) เกิน 100,000 + เงื่อนไข - จากส่วนราชการ - หน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น - รัฐวิสาหกิจ

  43. กรรมการ ซื้อ/จ้าง  คณะก.ก. เปิดซองสอบราคา  คณะก.ก. รับและเปิดซองประกวดราคา  คณะก.ก. พิจารณาผลการประกวดราคา  คณะก.ก. จัดซื้อโดยวิธีพิเศษ  คณะก.ก. จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ  คณะก.ก. ตรวจรับพัสดุ  คณะก.ก. ตรวจการจ้าง

  44. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการ พัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 ( E –Auction) เริ่มใช้ 1 ก.พ. 2549 - วงเงินตั้งแต่ 2,000,000 บาท ขึ้นไป

  45. Bidder 2 Bidder 3 Bidder 1 คณะกรรมการประกวดราคา ภาพรวมสถานที่เสนอราคา ผู้มีสิทธิเสนอราคา เจ้าหน้าที่ของรัฐ

  46. ค่าตอบแทนกรรมการตรวจการจ้างและควบคุมงานก่อสร้างที่ กค 0406.4/ว 18 ลว.27 กุมภาพันธ์ 2551 คณะกรรมการตรวจการจ้าง / ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ต้องเป็นผู้ที่ได้รับแต่งตั้งจากส่วนราชการเจ้าของงบประมาณให้ปฏิบัติหน้าที่ ตามนัยข้อ 72 / ข้อ 73 ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมเกณฑ์การพิจารณาสิทธิได้รับหรือไม่ พิจารณาจาก มีมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ถ้ามิได้กำหนดชัด แต่เป็นงานมอบหมายประจำไม่มีสิทธิเบิกค่าตอบแทน

  47. การเบิกจ่ายค่าควบคุมงานก่อสร้างและ คณะกรรมการตรวจการจ้าง (ค่าควบคุมงานรวมกับค่าจ้างเขียนแบบต้องควบคุมวงเงินตามเกณฑ์ดังนี้) วงเงินก่อสร้างไม่เกิน 10,000,000 บาท เบิกค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 2% วงเงินก่อสร้างส่วนที่เกิน 10,000,000 บาท เบิกค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 1.75%

More Related