330 likes | 554 Views
โดย นางเกล็ดนที สสิกาญจน์. แนวทาง : การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และการประเมินผลการควบคุมภายใน. เนื้อหาการนำเสนอ. 1. สาระสำคัญของระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินฯ 2. มาตรฐานการควบคุมภายใน 3. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารและผู้ปฏิบัติต่อการควบคุมภายในและการปฏิบัติตามระเบียบฯ
E N D
โดย นางเกล็ดนที สสิกาญจน์ แนวทาง:การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
เนื้อหาการนำเสนอ 1. สาระสำคัญของระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินฯ 2. มาตรฐานการควบคุมภายใน 3.ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารและผู้ปฏิบัติต่อการควบคุมภายในและการปฏิบัติตามระเบียบฯ การติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน
1. สาระสำคัญของระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินฯ • กำหนดให้หน่วยรับตรวจ • จัดวางระบบการควบคุมภายใน • ประเมินผลการควบคุมภายใน และรายงานผลการประเมินอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
มาตรฐานการควบคุมภายใน ความหมาย หมายถึง กระบวนการที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรทุกระดับของหน่วยรับตรวจกำหนดให้มีขึ้น เพื่อให้มีความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์
มาตรฐานการควบคุมภายใน (ต่อ) 3 วัตถุประสงค์ • ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการดำเนินงาน • ความเชื่อถือได้ของรายงานการเงิน • การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐานการควบคุมภายใน (ต่อ) แนวคิด การควบคุมภายใน 6
สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment) • การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) • สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) • การติดตามประเมินผล (Monitoring) มาตรฐานการควบคุมภายใน (ต่อ) 5 องค์ประกอบ 7
กำหนดหรือออกแบบการควบคุมภายในขององค์กรกำหนดหรือออกแบบการควบคุมภายในขององค์กร • สร้างสภาพแวดล้อมการควบคุมที่ดี • ปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องความซื่อสัตย์ ความมีคุณธรรม และจริยธรรม • จัดให้มีและให้ความสำคัญหน่วยตรวจสอบภายใน • สนับสนุนกระบวนการประเมินการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง บทบาทและความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารและผู้ปฏิบัติต่อการควบคุมภายในและการปฏิบัติตามระเบียบฯ ผู้บริหารระดับสูง 8
กำหนดหรือออกแบบการควบคุมภายในส่วนงานที่ได้รับมอบหมายกำหนดหรือออกแบบการควบคุมภายในส่วนงานที่ได้รับมอบหมาย • ติดตามประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานภายใต้การควบคุมที่นำมาใช้ • แก้ไขหรือปรับปรุงการควบคุมภายในตามผลการประเมินการควบคุมภายในส่วนงานที่ได้รับมอบหมาย • ปลูกฝังผู้ใต้บังคับบัญชาให้มีวินัย จิตสำนึกที่ดี มีความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการควบคุมภายใน ผู้บริหารระดับรองลงมา 9
ปฏิบัติตามขั้นตอนการทำงานที่หน่วยงานกำหนดปฏิบัติตามขั้นตอนการทำงานที่หน่วยงานกำหนด • ประเมินผลการควบคุมภายในส่วนงานที่ได้รับมอบหมาย • เสนอแนะวิธีการแก้ไข ลดจุดอ่อน ของการควบคุมภายในในการประเมินผล • ปฏิบัติตนอย่างมีวินัย ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต มีความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการควบคุมภายใน ผู้ปฏิบัติ 10
การประเมินผลการควบคุมภายในการประเมินผลการควบคุมภายใน โดย • ประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment : CSA) • รายงานผลการประเมิน ภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้นปี งบประมาณหรือปีปฏิทิน • จัดทำหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (Representation Letter) • ส่งสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน/ ผู้กำกับดูแล/ คณะกรรมการตรวจสอบ (ถ้ามี) 11
การประเมินผลการควบคุมภายใน (ต่อ) • รายงานอื่นเก็บไว้ที่หน่วยรับตรวจ • ขอบเขต ความถี่ วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินอยู่ในดุลยพินิจของหน่วยรับตรวจเป็นผู้กำหนด • สามารถใช้หนังสือฉบับนี้เป็นแนวทางการปฏิบัติตามระเบียบ ฯ 12
การประเมินผลระดับส่วนงานย่อย -ประเมินผลกิจกรรม/งาน/กระบวนการปฏิบัติงานและ พิจารณาองค์ประกอบทั้ง 5 ของการควบคุมภายใน การประเมินผลระดับหน่วยรับตรวจ - ใช้ผลการประเมินส่วนงานย่อย และประเมินเพิ่มเติม เพื่อสรุปภาพรวมของหน่วยงาน การประเมินผลการควบคุมภายใน
มี 2 แบบ 1. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน - ปย.1 2. รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน - ปย.2 รายงานระดับส่วนงานย่อย – ปย.
ปย.1 แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน องค์ประกอบของการควบคุมภายใน (1) 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม ....................................... 2. การประเมินความเสี่ยง ....................................... 3. กิจกรรมการควบคุม ....................................... 4. สารสนเทศและการสื่อสาร ....................................... 5. การติดตามประเมินผล ....................................... ผลการประเมิน/ ข้อสรุป (2) ............................ ................................ ....................................... ส่วนหัวรายงาน ผลการประเมิน ................................................................. .......................................................................................... ชื่อผู้รายงาน ตำแหน่ง วัน เดือน พ.ศ.
ปย.2แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายในปย.2แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน ............................. ................................. ........................................ มี 7 คอลัมน์ ส่วนหัวรายงาน
ปย.2 แบบประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายใน(ต่อ) ชื่อผู้รายงาน ตำแหน่ง วัน.......เดือน..........พ.ศ.........
ตัวอย่างการประเมินการควบคุมภายในตัวอย่างการประเมินการควบคุมภายใน ระดับส่วนงานย่อย
กระบวนการทำหนดท่าทีความร่วมมือฯกระบวนการทำหนดท่าทีความร่วมมือฯ รับเรื่อง-นโยบายจากผู้บริหาร ตรวจสอบ สืบค้น รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์เบื้องต้น จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อระดมความเห็น
ตัวอย่างรายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554
ตัวอย่าง (ต่อ)รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554
ตัวอย่าง (ต่อ)รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554
ตัวอย่าง (ต่อ)รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554
ตัวอย่าง (ต่อ)รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554
มี 3 แบบ 1. หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน – ปอ.1 2. รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน – ปอ.2 3. รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน – ปอ.3 รายงานระดับหน่วยรับตรวจ – ปอ.
เป็นหนังสือรับรองที่หน่วยรับตรวจรับรองตนเองเกี่ยวกับการควบคุมภายในเป็นหนังสือรับรองที่หน่วยรับตรวจรับรองตนเองเกี่ยวกับการควบคุมภายใน ปอ.1 แบบรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน เรียน................ ....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)......ได้ประเมินผลการควบคุมภายในสำหรับปีสิ้นสุดวันที่.....เดือน.......พ.ศ.......ด้วยวิธีการที่ ....(ชื่อหน่วยรับตรวจ)......กำหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ด้าน................. ...................................................................................................................ซึ่งรวมถึงระเบียบปฏิบัติของฝ่ายบริหาร จากผลการประเมินดังกล่าวเห็นว่าการควบคุมภายในของ....................สำหรับปีสิ้นสุดวันที่.....................เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไว้ มีความเพียงพอและบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในตามที่กล่าวในวรรคแรก __________________ __________________ __________________
ข้อมูลที่รายงานได้มาจากข้อมูลที่รายงานได้มาจาก 1. สรุปผลจากแบบ ปย.1 ของส่วนงานย่อยต่างๆ (รูปแบบเดียวกันกับ ปย.1) 2. การประเมินเพิ่มเติมในระดับองค์กร ปอ.2แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ต่อ)
ปอ.3แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในปอ.3แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ............................. ................................. ........................................ มี 6 คอลัมน์ ส่วนหัวรายงาน
ปอ.3แบบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ต่อ) ชื่อผู้รายงาน ตำแหน่ง วัน.......เดือน..........พ.ศ.........
การปรับปรุงการควบคุมภายในการปรับปรุงการควบคุมภายใน • แจ้งแผนการปรับปรุงฯ ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบและให้ถือปฏิบัติโดยทั่วกัน • ติดตามผลการดำเนินการตามแผนฯในงวดถัดไป
สรุปรายงานที่หน่วยรับตรวจจัดทำและจัดส่ง สตง. ตามระเบียบข้อ 6