450 likes | 761 Views
การพัฒนาระบบส่งต่อ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลมะการักษ์อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ปี พ . ศ .2547-2555. กลุ่มงานเวชกรรมสังคม งานพัฒนา รพ . สต . อ . ท่ามะกา โรงพยาบาลมะการักษ์ อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี วันที่ 10 ม.ค. 2556. นางวรรณา อิ่มคุ้ม พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ.
E N D
การพัฒนาระบบส่งต่อ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลมะการักษ์อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ปี พ.ศ.2547-2555 กลุ่มงานเวชกรรมสังคม งานพัฒนา รพ.สต.อ.ท่ามะกา โรงพยาบาลมะการักษ์ อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี วันที่ 10 ม.ค. 2556 นางวรรณา อิ่มคุ้ม พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
โรงพยาบาลมะการักษ์เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 240 เตียง เปิดให้บริการ ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2520 ข้อมูลประชากร : อำเภอท่ามะกามีทั้งสิ้น จำนวน 136,083 คน อ.ท่ามะกา มี 16 ตำบล,153 หมู่บ้าน ,13 อบต. /เทศบาลเมือง 1 แห่ง, เทศบาลตำบล 7 แห่ง รพ.เป็นโรงพยาบาลแม่ข่าย เชื่อมโยง กับ รพ.สต.ทั้ง 15 แห่ง
วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำบริการสุขภาพที่มาตรฐาน ทันสมัย ครองใจประชาชน พันธกิจ ให้บริการดูแลด้านสุขภาพของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานครอบคลุมทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม ภายใต้ การทำงานเป็นทีมของผู้เชี่ยวชาญ ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยประชาชนเป็นศูนย์กลางและมีส่วนร่วม เพื่อความ พึงพอใจของผู้ใช้และผู้ให้บริการ
ปัญหาและเหตุผลที่ โรงพยาบาลมะการักษ์ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอท่ามะกา และ รพ.สต.จำนวนทั้งสิ้น 15 แห่ง มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -เกิดความแออัดในทุกจุดบริการของโรงพยาบาลมะการักษ์ ตั้งแต่แผนกเวชระเบียน ,ห้องLAB,OPD( คลินิกอายุรกรรม) ,ห้องจ่ายยา มีผลทำให้ ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต รอนาน รู้สึกเบื่อหน่ายในการมารับ บริการ เกิดความเครียด ส่งผลทำให้ผู้ป่วยขาดนัดโดยเฉพาะผู้ป่วยที่เดินทางมาไม่สะดวก ขาดยา เกิดภาวะหรือโรคแทรกซ้อน -ผู้ป่วยจำเป็นต้องมารับยาและรักษาพยาบาลจากอายุรแพทย์ที่ รพ.
ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการ OPD
โรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
-ปี พ.ศ.2547- 2548 ผู้บริหาร องค์กรแพทย์ OPD และหน่วยงานต่างๆ ใน รพ.รวมทั้ง สสอ. รพ.สต. -ประชุมร่วมกันในคณะกรรมการ คปสอ.ม.ท่ามะกา และคณะทำงานพัฒนา รพ.สต. และใน PCT.อายุรกรรมเพื่อพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และปรับรูปแบบบริการ จากเดิมเปิดให้บริการทุกวันอังคาร เป็นเปิดให้บริการทุกวัน เพื่อลดความแออัด ลดระยะเวลารอคอย อัตราการขาดนัดลดลง อัตราความพึงพอใจเพิ่มขึ้น
มีระบบสนับสนุนการเชื่อมโยงบริการระหว่างหน่วยบริการปฐมภูมิกับโรงพยาบาลแม่ข่าย มีระบบสนับสนุนการเชื่อมโยงบริการระหว่างหน่วยบริการปฐมภูมิกับโรงพยาบาลแม่ข่าย ระบบส่งต่อ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล จำนวน 15 แห่ง อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี โรงพยาบาลมะการักษ์ เชื่อมโยงระบบส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
มีหนังสือโรงพยาบาลมะการักษ์ แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนา คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลของอำเภอท่ามะกา- มีทีมแพทย์ให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ให้กับ รพ.สต.ทั้ง15 แห่ง
มีพยาบาลเวชปฏิบัติ ปฏิบัติงานประจำที่หน่วยปฐมภูมิต่อประชากร UC คือ 1:5,000 หรือน้อยกว่า และอย่างน้อยแห่งละ 1 คน
1.เพื่อลดความแออัด ลดเวลารอคอย ลดคิว ใน รพ.ลง 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการรักษาพยาบาลจากพยาบาล NP รพ.สต. ที่ผ่านการอบรม/ทักษะจาก แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรกรรมที่ คลินิกDM/HT ของ รพ. 3.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับความสะดวก และรวดเร็วในการรับการรักษาพยาบาล และรับยา DM/HT ที่ รพ.สต.ใกล้บ้าน 4.เพื่อลดค่าใช้จ่าย และ ระยะเวลาของผู้ป่วยลง 5.เพื่อป้องกัน/ลด ภาวะ/โรคแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังลง
การแก้ปัญหา เริ่มต้นที่การวางระบบ การพัฒนาระบบมาตรฐานการทำงาน เอื้ออำนวย ต่อการปฏิบัติงานและพัฒนา
การติดตาม ควบคุม และ ประสาน การดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน ประชุมวางแผนงาน
ระบบการส่งต่อ -ส่งกลับ • รพ. รวบรวมจำนวนผู้ป่วย DM HT ที่ OPD เป็นรายตำบลเพื่อกระจายผู้ป่วยลงสู่ รพ.สต. • มีการ Audit การรักษาของ NP จาก แพทย์ รวมทั้งให้คำปรึกษา และReview Rx.การรักษาพยาบาลในแฟ้มบันทึกการรักษาใน F.F.
ระบบการส่งต่อ-ส่งกลับระบบการส่งต่อ-ส่งกลับ - มีระบบการรักษาพยาบาลตามแนวทาง CPG.ทั้งโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตามที่ องค์กรแพทย์ของโรงพยาบาลกำหนด และมีระบบติดตามการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง กรณีผู้ป่วยมีอาการผิดปกติรพ.สต.ส่งผู้ป่วยกลับไปรับการรักษาพยาบาลต่อที่ รพ. - ดูแลรักษาพยาบาลต่อเนื่อง เช่น นัดรับยาDM,HT ที่ รพ.สต. แนะนำการปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับโรค และส่งเสริมสุขภาพ
ข้อกำหนดของระบบส่งต่อข้อกำหนดของระบบส่งต่อ ส่งต่อผู้ป่วยเบาหวาน / โรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตได้คงที่ อย่างน้อย 6 เดือน
ระบบนัดหมาย/ช่องทางด่วนระบบนัดหมาย/ช่องทางด่วน • - มีการกำหนดทีมรับผิดชอบการจัดบริการนัดหมาย • - มีการนัดหมายให้รับบริการอย่างต่อเนื่อง • - มีการตรวจสอบและติดตามกรณีขาดนัด • มีแนวทางปฏิบัติการส่งต่อ/นัดหมายผู้ป่วยไปรับการรักษาที่รพ.แม่ข่าย • รพ.แม่ข่าย มีช่องทางด่วนเพื่อรองรับการส่งต่อจากหน่วยบริการปฐมภูมิ
ระบบการให้คำปรึกษา • มีการให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์จากแพทย์และทีมงานที่เกี่ยวข้องกับงานของ รพ., Skype • - มี Flow chart ขอรับคำปรึกษา • มีการบันทึกผลการติดต่อสื่อสาร
แพทย์เป็นที่ปรึกษาใน รพ.สต/ศสม. แพทย์เป็นพี่เลี้ยงในการ Conference case อย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง ฝึกอบรมและฝึกทักษะ
แพทย์ที่ปรึกษาใน รพ.สต. รพ.แม่ข่ายจัดให้มีแพทย์เป็นที่ ปรึกษา รพ.สต. โดยขอคำปรึกษาผ่าน โทรศัพท์มือถือ Skype
Consultation 24 ชั่วโมง C = Consultation 24x7 แพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัว นสค. รพ.สต. แพทย์เฉพาะทาง แพทย์เฉพาะทาง อสม. ประชาชน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง “ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีญาติเป็นหมอ”
ติดต่อหมอใกล้บ้านใกล้ใจได้ทุกเวลา ติดต่อหมอใกล้บ้านใกล้ใจได้ทุกเวลา • พยาบาลวิชาชีพและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต.ให้บริการแบบเอื้ออาทร ด้วยบริการที่มีหัวใจของความเป็นมนุษย์
เภสัชกร มีเภสัชกรให้คำปรึกษา และ รับส่งต่อที่โรงพยาบาลแม่ข่าย และติดตามการบริการที่รพ.สต. ปีละอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี แผนพัฒนาหน่วยปฐมภูมิตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ
ทันตแพทย์ / ทันตาภิบาล - มีทันตแพทย์/ทันตาภิบาลให้คำปรึกษา และรับการส่งต่อที่โรงพยาบาลแม่ข่าย - มีเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข ประจำที่รพ.สต.บ้านหวายเหนียว - ได้รับยูนิตทันตกรรมจากรพ.มะการักษ์ จัดบริการแบบผสมผสานในสถานบริการและในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ การให้บริการ - ถอนฟัน - อุดฟัน - ขูดหินน้ำลาย
นักกายภาพบำบัด - มีนักกายภาพบำบัดให้คำปรึกษา และรับการส่งต่อที่ โรงพยาบาลแม่ข่าย - จัดทำโครงการ โดยโรงพยาบาลมะการักษ์ ให้นัก กายภาพบำบัด เยี่ยมบ้านผู้ป่วย และผู้พิการ พร้อมทีม สหวิชาชีพที่รพ.สต. มีพยาบาล นักการแพทย์แผนไทย นักวิชาการสาธารณสุข อสม. เป็นต้น
แพทย์แผนไทย มีแพทย์แผนไทยให้คำปรึกษา และรับส่งต่อที่โรงพยาบาลแม่ข่าย มีนักการแพทย์แผนไทย ประจำที่ รพ.สต. ได้รับงบประมาณโครงการสนับสนุนการจัดบริการแพทย์แผนไทย ในรพ.สต. จาก สปสช. การให้บริการ - จ่ายยาสมุนไพร - นวดแผนไทย - ประคบสมุนไพร - อบสมุนไพร
ทีมพยาบาลวิชาชีพ กิจกรรม การเจาะเลือดตรวจประจำปีเชิงรุก ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับการรักษาพยาบาล ณ รพ.สต. ทั้ง 15 แห่ง อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี
ทีมงานของโรงพยาบาลออกเจาะเลือดเวลา 07.00น รายงานผล LAB ให้ผู้ป่วยรับทราบ ผู้ป่วยที่มีผล LAB ผิดปกติ รับการรักษาพยาบาลจาก แพทย์อายุรกรรมของโรงพยาบาล
ทีมงานเราเห็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความสุขมากขึ้น ไม่ต้องไปรักษาและรับยาไกลบ้านอีกแล้ว ไม่ต้องคอยนาน ไม่ต้องรอคิวเจาะเลือดตั้งแต่ ตี 5,ไม่ต้องรอหมอตรวจ แถมรอคิวรับยาอีก เราเห็นผู้ป่วยมีสีหน้ายิ้มแย้ม เราก็มีความสุขแล้ว
ลดความแออัด ลดคิว ลดเวลารอคอย สรุป รพ.ส่งต่อ ( ตั้งแต่ปี 2547-ปัจจุบัน) -โรคเบาหวาน จำนวน 3,303 ราย -โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 3,761 ราย
กลยุทธ์ ยึดหลักผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
Humanized Health Careเราจะดูแลคนไข้ด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์
ปัจจัยความสำเร็จ 1.ผู้นำองค์กรของ รพ. ( โดยเฉพาะองค์กรแพทย์ และอายุรแพทย์) สสอ. และ รพ.สต. มีวิสัยทัศน์ 2.ทีมงานทั้งใน และนอก รพ.ทำงานอย่างมุ่งมั่นตั้งใจโดยมอง ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 3.เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ พัฒนางานคุณภาพเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ “ทุก รพ.สต.ทั้ง 15 แห่ง มีพยาบาล NP ครบ และทุกคนเสียสละ ทุ่มเท ดูแลรักษาครบ 4 มิติ ให้การพยาบาลแบบองค์รวม และดูแลด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์”
1.ท่าน ผอ.รพ.สต.และทีมผู้บริหาร 2.คุณสุคนธ์ อินเกตุ สาธารณสุขอำเภอท่ามะกา และ ทีมงาน สสอ. 3.ทีมงาน รพ.สต. 4.สปสช.
อย่าคิดเปลี่ยนใคร………..อย่าคิดเปลี่ยนใคร……….. เปลี่ยนที่ใจตัวเอง Thanks for Your attention