1 / 88

Excel Loader ระบบเบิกจ่าย

Excel Loader ระบบเบิกจ่าย. ระบบเบิกจ่าย ภาพรวมและการเชื่อมโยงของระบบเบิกจ่าย GFMIS. 1. ระบบการวางแผน และจัดทำงบประมาณ. 4. ระบบการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ และผลผลิต. BIS. พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี. การติดตามงบประมาณ. การวางแผนและ จัดทำงบประมาณ. การบริหารงบประมาณ

ajay
Download Presentation

Excel Loader ระบบเบิกจ่าย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ExcelLoader ระบบเบิกจ่าย

  2. ระบบเบิกจ่ายภาพรวมและการเชื่อมโยงของระบบเบิกจ่าย GFMIS

  3. 1. ระบบการวางแผน และจัดทำงบประมาณ 4. ระบบการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ และผลผลิต BIS พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี การติดตามงบประมาณ การวางแผนและ จัดทำงบประมาณ • การบริหารงบประมาณ • แผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ • จัดสรรงบประมาณ • โอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณ 5.ระบบข้อมูลการบริหาร ด้านการเงิน การคลัง การงบประมาณ ภาครัฐ (GFMIS) GFMIS ระบบ งบประมาณ กระบวนการบริหารงบประมาณ บันทึกรายการจัดซื้อ-จัดจ้าง บันทึกรายการตรวจรับงาน เชื่อมโยงกับ G-Procurement 2. ระบบการบริหาร งบประมาณและเบิกจ่าย แบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ จัดซื้อ-จัดจ้าง 3. ระบบการบัญชี การเงิน ภาครัฐ แบบเกณฑ์คงค้าง GFMIS • รองรับการเบิกจ่ายเงินในงบประมาณ/เงินนอกงบประมาณ ระบบ บัญชีการเงิน การตั้งเบิก : บันทึกรายการตั้งเบิกเพื่อขอให้กรมบัญชีกลางจ่ายเงินและ เพื่อให้ระบบลงบัญชีเพื่อรับรู้ค่าใช้จ่าย/เจ้าหนี้ตามเกณฑ์คงค้าง GFMIS GFMIS การจ่าย : กรมบัญชีกลางจ่ายตรงให้คู่สัญญา/เจ้าหนี้ของส่วนราชการ กรมบัญชีกลางจ่ายให้ส่วนราชการแล้วส่วนราชการจ่ายต่อผู้รับเงิน ส่วนราชการจ่ายเอง (เงินนอกงบประมาณที่ไม่ฝากคลัง) • การบันทึกบัญชีตาม • เกณฑ์คงค้าง • บัญชีต้นทุน • งบการเงินส่วนราชการ • งบการเงินแผ่นดิน ระบบ เบิก-จ่ายเงิน • การตั้งเบิกอ้างอิงใบสั่งซื้อในระบบจัดซื้อ-จัดจ้างและไม่อ้างอิงใบสั่งซื้อ • ปรับปรุงยอดงบประมาณตามสถานะการเบิกจ่ายและลงบัญชีอัตโนมัติ ภาพรวมและการเชื่อมโยงของระบบเบิกจ่าย GFMIS การวางแผนและจัดทำงบประมาณ 3

  4. ระบบเบิกจ่ายกระบวนงานหลักของระบบเบิกจ่ายผ่าน ExcelLoader

  5. 2 Auto Load ข้อมูลจาก Excel Loader Server เข้าระบบ GFMIS Online 3. กรมบัญชีกลาง/คลังจังหวัด Web-Excel Server ระบบปรับปรุงยอดงบประมาณที่เกี่ยวข้องอัตโนมัติ รายงานการนำเข้าข้อมูล แสดงใน excel loader เพื่อให้หน่วยเบิกจ่ายรับทราบ 4. ธนาคารกรุงไทย โอนเงินไปยังบัญชีผู้รับเงิน - คู่สัญญา/เจ้าหนี้ของส่วนราชการ - ส่วนราชการ/หน่วยเบิกจ่าย ส่ง Statement การโอนเงินให้กรมบัญชีกลาง 1.หน่วยเบิก-จ่ายที่ใช้ Excel Loader เมื่อต้องการเบิกค่าใช้จ่าย (ใบเบิก/ใบเสร็จ) ขออนุมัติการเบิก-จ่าย(ภายในของส่วนราชการ) 5. หน่วยเบิก-จ่ายที่ใช้ Excel Loader เมื่อได้รับโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย ส่วนราชการจ่ายเงินต่อให้ผู้รับเงิน บันทึกรายการที่ส่วนราชการจ่ายเงินต่อผ่าน Excelloader กรณีจ่ายตรงโดยกรมบัญชีกลางสามารถตรวจสอบการจ่าย ได้จากรายงาน Excel Loader บันทึกรายการตั้งเบิก ผ่าน Excel loader 1. อ้างใบสั่งซื้อในระบบ GFMIS 2. ไม่อ้างใบสั่งซื้อ (เบิกอื่นๆที่ไม่ออกใบสั่งซื้อ) โดยระบุค่าใช้จ่าย,งบประมาณที่ใช้และ ผู้รับเงิน(คู่สัญญา/ส่วนราชการ) กระบวนงานการบันทึกรายการเบิก-จ่ายเงินผ่านExcel Loader (ส่วนกลาง-ภูมิภาค) - ทำการปลดบล็อค

  6. ระบบเบิกจ่ายเงิน • การบันทึกรายการขอเบิกเงิน • การบันทึกรายการทยอยจ่าย • เบิกเกินส่งคืน • ลูกหนี้เงินยืม • เงินอุดหนุน • เงินประกันผลงาน • เงินประกันสัญญา • การยกเลิกเอกสารการตั้งเบิก • เบิกแทนกัน • Update Version Excel From • ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางการแก้ไขปัญหา 6

  7. การบันทึกรายการขอเบิกเงินการบันทึกรายการขอเบิกเงิน * วันที่เอกสารระบุวันที่ในใบแจ้งหนี้ * วันที่ผ่านรายการระบุวันที่บันทึกรายการขอเบิกเงิน * จำนวนเงินต้องตรงกับใบแจ้งหนี้ * การอ้างอิง + กรณีจ่ายตรงผ่าน PO อ้างอิงเลขที่ใบแจ้งหนี้ + กรณีจ่ายตรงค่าสาธารณูปโภค อ้างอิงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด + กรณีจ่ายผ่าน อ้างอิง P+YY+Running Number (P คือ ค่าคงที่ Y คือ 2หลักท้ายของปีพ.ศ) การบันทึกรายการขอเบิกเงิน 7

  8. การบันทึกรายการทยอยจ่ายการบันทึกรายการทยอยจ่าย *ระบบไม่อนุญาตให้บันทึกรายการขอจ่ายเงิน(PM)ในระบบก่อนที่กรมบัญชีกลางจะโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของหน่วยงาน • * ระบบจะตรวจสอบความสัมพันธ์ของรหัสต่างๆในเอกสารขอเบิกเงินกับเอกสารขอจ่ายเงิน(PM) • * การบันทึกล้างรายการทุกครั้ง ช่องการอ้างอิงให้ระบุเอกสาร 14 หลัก คือ ปี ค.ศ.จำนวน 4 หลัก +เลขที่เอกสารขอเบิกจำนวน 10 หลัก • * การบันทึกทยอยจ่ายครั้งที่ 1 ให้ระบุเลขที่เอกสารขอเบิก 8

  9. การบันทึกรายการทยอยจ่าย(ต่อ)การบันทึกรายการทยอยจ่าย(ต่อ) * การบันทึกทยอยจ่ายครั้งถัดไป ให้ระบุเลขที่เอกสารขอจ่าย * การระบุจำนวนเงินขอจ่ายให้ระบุด้วยจำนวนเงินที่จ่ายจริงในแต่ละครั้งหรือจำนวนเงินหลังหักภาษี(ถ้ามี) * การกลับรายการ กรณีมีรายการที่เกิดขึ้นหลังเอกสาร PM ที่ต้องการกลับรายการให้กลับรายการนั้นก่อนแล้วจึงกลับรายการ PM ที่ต้องการ เช่น ทำ PM 5 รายการ ต้องการกลับ PM รายการที่ 3 จะต้องกลับรายการ PM รายการที่ 5,4 ก่อน จึงจะสามารถกลับรายการที่ 3 ได้ 9

  10. การบันทึกรายการ ขอจ่ายเงิน บันทึกคำขอเบิกเงิน รับเงินจากคลัง จ่ายเต็มจำนวน ทยอยจ่าย จ่ายเงิน จ่ายเต็มจำนวน ทยอยจ่าย หลักฐาน การจ่าย ลงบัญชี 10

  11. แบบฟอร์ม ขจ.05 การทยอยจ่ายครั้งที่ 1 11

  12. แบบฟอร์ม ขจ.05 การทยอยจ่ายครั้งที่ 2 12

  13. แบบฟอร์ม ขจ.05 การทยอยจ่ายครั้งที่ 3 13

  14. เอกสารแนบ 14

  15. ระบบการเบิก-จ่ายเบิกเกินส่งคืนระบบการเบิก-จ่ายเบิกเกินส่งคืน 15

  16. ระบบเบิกเกินส่งคืน บันทึกรายการขอเบิกเงิน ตัด รับเงินจากคลัง จ่ายเงินและบันทึกรายการ ขอจ่ายเงินในระบบ งบประมาณ รับเงินเบิกเกินส่งคืน นำเงินส่งคืนที่ KTB และ บันทึกข้อมูลนำส่งเงิน เพิ่ม ระบบกระทบยอดผ่าน บันทึกรายการล้างคชจ. และเบิกเกินส่งคืน 16

  17. เบิกเกินส่งคืน • ปรับปรุงระบบให้มีการตรวจสอบรหัสต่างๆในแต่ละขั้นตอน และต้องบันทึกรายการตามขั้นตอนที่กำหนด รหัสที่ใช้ในการอ้างอิงเป็น YY+XXXXXXXXXX+LLL • Y คือ2 หลักสุดท้ายของปี คศ. • X คือเลขที่เอกสารขอเบิกเงิน 10 หลัก • L คือบรรทัดรายการค่าใช้จ่ายที่เบิกเกินส่งคืน • ทุกขั้นตอนอ้างอิงรหัสงบประมาณ รหัสแหล่งของเงิน รหัสกิจกรรมหลัก รหัสศูนย์ต้นทุนตามเอกสารขอเบิกเงิน ยกเว้นขั้นตอนนำส่งเงิน 17

  18. การเบิกเกินส่งคืน (ต่อ) • การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนภายในปีงบประมาณ • 1.1 บันทึกรับรู้เงินเบิกเกินส่งคืน • 1.2 เบิกเกินส่งคืนเงินเดือน/บำนาญจ่ายตรง • การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนข้ามปีงบประมาณ 2.1 บันทึกรับรู้เงินเบิกเกินส่งคืนในปีงบประมาณเก่า แต่นำเงินส่งคลังในปีงบประมาณใหม่ 2.2 บันทึกรับเงินและนำเงินส่งคลังในปีงบประมาณใหม่ 18

  19. 1.1 คำสั่งงานที่บันทึกเบิกเกินส่งคืน(ภายในปีงบประมาณ) 19

  20. กระบวนงานการเบิกเกินส่งคืนกรณีบันทึกรายการผ่าน Excel loader ขั้นตอนที่ 2 บันทึกรายการนำส่งเงิน Dr.พักเงินนำส่ง(1101010112) Cr.บัญชีเงินสดในมือ(1101010101) บันทึกรายการนำส่งเงิน กรณีเงินงบประมาณ ใช้แบบฟอร์ม นส.02-1 ประเภทเอกสาร R6 บันทึกรายการนำส่งเงิน กรณีเงินนอกงบประมาณ ใช้แบบฟอร์ม นส.02-2 ประเภทเอกสาร R7 กรณีบันทึกรายการผิด แบบฟอร์ม นส.02-1 กลับรายการที่ Terminal ใช้สั่ง ZFB08 แบบฟอร์ม นส.02-2 เป็นเอกสารพักนำส่ง 9999 ให้แจ้งกรมบัญชีกลางยกเลิกให้ กรณีที่เอกสารเอกสารนำส่งมีเลขหักล้าง 24xxxxxxxx ใช้คำสั่ง ZFI_FBRA ยกเลิกเลขหักล้าง แล้วจึงจะกลับรายการเอกสารนำส่ง ด้วย ZFB08 • ขั้นตอนที่ 1 บันทึกรายการตั้งเบิกเกินส่งคืน โดย ไม่มีลูกหนี้ • แบบฟอร์ม บช.01 ประเภทเอกสาร BD • Dr.บัญชีเงินสดในมือ(1101010101) • Cr.เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง(2116010104) • กรณีบันทึกรายการผิด • กลับรายการที่ Terminal ใช้สั่ง ZFB08 ขั้นตอนที่ 3 บันทึกรายการลดยอดค่าใช้จ่ายและเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง(ขั้นตอนคืนงบประมาณ) แบบฟอร์ม บช.01 ประเภทเอกสาร BE Dr. เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง(2116010104) Cr.ค่าใช้จ่าย 5* (ค่าใช้จ่ายตามตั้งเบิก) กรณีบันทึกรายการผิด กลับรายการที่ Terminal ใช้สั่ง ZFB08 20

  21. เอกสารแนบ 21

  22. 1.2 เบิกเกินส่งคืนเงินเดือน/บำนาญจ่ายตรง 22

  23. 2. การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนข้ามปีงบประมาณ 2.1 บันทึกเงินเบิกเกินส่งคืนในปีงบประมาณเก่า แต่นำเงินส่งคลังในปีงบประมาณใหม่ 2.2 บันทึกรับเงินและนำเงินส่งคลังในปีงบประมาณใหม่ 23

  24. 2. 1 บันทึกเงินเบิกเกินส่งคืนในปีงบประมาณเก่า แต่นำส่งเงินในปีงบประมาณใหม่ 24

  25. เอกสารแนบ 25

  26. 2.2 บันทึกรับเงินและนำเงินส่งคลังในปีงบประมาณใหม่ 26

  27. ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม 27

  28. 28

  29. ระบบเงินยืม บันทึกรายการขอเบิกเงินยืม รับเงินจากคลัง ตัด จ่ายเงินให้ยืมและบันทึกรายการ ขอจ่ายเงินในระบบ งบประมาณ ลูกหนี้ส่งใช้คืนเงินยืม ส่งใบสำคัญเท่ากับ เงินยืม ส่งใบสำคัญสูงกว่าเงินยืม ส่งใบสำคัญและเงินสด บันทึกล้างเงินยืม บันทึกล้างเงินยืม บันทึกล้างเงินยืม บันทึกเบิกเกินส่งคืน เพิ่ม นำเงินส่งคืนที่ KTBและบันทึกข้อมูลนำส่งเงิน ขออนุมัติจ่ายใบสำคัญที่ส่งสูงกว่าเงินยืม ระบบกระทบยอดผ่าน บันทึกรายการล้างเงินยืมและเบิกเกินส่งคืน บันทึกรายการขอเบิกเงิน 29

  30. การล้างลูกหนี้เงินยืมการล้างลูกหนี้เงินยืม เปลี่ยนรหัสที่ใช้ในการอ้างอิงเป็น YY+XXXXXXXXXX+LLL รวม 15 หลัก Y คือ 2 หลักสุดท้ายของปี คศ. X คือเลขที่เอกสารขอเบิกเงิน 10 หลัก L คือบรรทัดรายการลูกหนี้เงินยืม 3 หลัก • ปรับปรุงระบบให้มีการตรวจสอบรหัสต่างๆ ในแต่ละขั้นตอน • และต้องบันทึกรายการตามขั้นตอนที่กำหนด ทุกขั้นตอนอ้างอิงรหัสงบประมาณ รหัสแหล่งของเงิน รหัสกิจกรรมหลัก รหัสศูนย์ต้นทุน ตามเอกสารขอเบิกเงินยกเว้นขั้นตอนการนำส่งเงิน 30

  31. การล้างลูกหนี้เงินยืมการล้างลูกหนี้เงินยืม 1. การล้างลูกหนี้เงินยืมภายในปีงบประมาณ 2. การตรวจสอบพบภายหลังว่าลูกหนี้ไม่มีสิทธิเบิก ค่าใช้จ่าย 31

  32. 1.การล้างลูกหนี้เงินยืมภายในปีงบประมาณ1.การล้างลูกหนี้เงินยืมภายในปีงบประมาณ 1.1 การล้างเงินยืมเท่ากับใบสำคัญ 1.2 การล้างเงินยืมเป็นเงินสดและใบสำคัญ 1.3 การล้างเงินยืมมากกว่าสัญญาการยืมเงิน 32

  33. 1. 1 การล้างลูกหนี้เงินยืมเท่ากับใบสำคัญ 33

  34. เอกสารแนบ 34

  35. 1.2 การล้างลูกหนี้เงินยืมเป็นใบสำคัญและเงินสด 35

  36. เอกสารแนบ

  37. 1. 3 การล้างลูกหนี้เงินยืมมากกว่าสัญญาการยืมเงิน 37

  38. เอกสารแนบ 38

  39. 2. การตรวจสอบพบภายหลังว่าลูกหนี้ไม่มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่าย Y คือ 2 หลักสุดท้ายของปี ค.ศ. การอ้างอิง YY+XXXXXXXXXX+LLLX คือ เลขที่เอกสารล้างลูกหนี้ 10 หลัก (G1 ) L คือ บรรทัดรายการค่าใช้จ่าย 39

  40. 3.การล้างลูกหนี้เงินยืมข้ามปีงบประมาณ (เงินในงบประมาณ เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี เงินนอกงบประมาณ) 3.1 การล้างเงินยืมเท่ากับใบสำคัญ แบบ บช.01 ประเภท G1 ช่องอ้างอิง YY+XXXXXXXXXX+LLL (ปีค.ศ.+เลขที่เอกสารขอเบิกเงินยืม+บรรทัดรายการลูกหนี้) รหัสงปม. รหัสแหล่งเงิน รหัสกิจกรรมหลักรหัสศูนย์ต้นทุน ตามเอกสารขอเบิก 40

  41. ให้ล้างลูกหนี้เงินยืมเท่ากับใบสำคัญตามข้อ 3.1 -และบันทึกรายการขอเบิกเข้าหน่วยงานตามปกติ -เมื่อจ่ายเงินให้ผู้รับเงิน ต้องบันทึกรายการจ่าย ชำระเงินโดยส่วนราชการ (ขจ.05) ด้วย 3.การล้างลูกหนี้เงินยืมข้ามปีงบประมาณ (เงินในงบประมาณ เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี เงินนอกงบประมาณ) 3.2 การล้างเงินยืมมากกว่าสัญญาการยืมเงิน 41

  42. 3.3 การล้างเงินยืมน้อยกว่าสัญญาการยืมเงิน ให้ล้างลูกหนี้เงินยืมเท่ากับใบสำคัญ ตามข้อ3.1 และบันทึกขั้นตอนรับเงินเหลือจ่าย 3.การล้างลูกหนี้เงินยืมข้ามปีงบประมาณ(เงินในงบประมาณ เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี เงินนอกงบประมาณ) 42

  43. 3.3 การล้างเงินยืมเป็นเงินสดและใบสำคัญ 43

  44. 3.3 การล้างเงินยืมเป็นเงินสดและใบสำคัญ 44

  45. 3.3 การล้างเงินยืมเป็นเงินสดและใบสำคัญ 45

  46. การบันทึกรายการเงินอุดหนุนการบันทึกรายการเงินอุดหนุน กรณีทราบค่าใช้จ่ายตั้งแต่ตั้งเบิกผ่าน Terminal • ตั้งเบิกเงินอุดหนุนที่ • T-Code ZFB60_K8 2. เมื่อ Save เข้าระบบแล้ว จะได้เลขที่เอกสารจากระบบ 36xxxxxxxx ต้องอนุมัติรายการตั้งเบิกที่ P1:ZPMTR_0, P2:ZPMTR_A ระบบจะสร้างเอกสาร KY ให้อัตโนมัติ คู่บัญชี DR ค้างรับกรมบัญชีกลาง (1102050124 ) CRT/ R (4307010101) รหัสผู้ขาย –จะขึ้นต้นด้วย A คู่บัญชี DR ค่าใช้จ่ายจริง ( 5* ) CR ใบสำคัญค้างจ่าย ( 2102040102 ) แหล่งของเงิน อุดหนุนทั่วไป = YY11410 หรือ อุดหนุนเฉพาะกิจ = YY11420 YY คือปีงบประมาณ ระบบจะลงบัญชี PY อัตโนมัติ คูบัญชี DR เงินฝากของหน่วยงาน-เงินในงบ(1101020603) CR ค้างรับกรมบัญชีกลาง(1102050124 ) 3. กรมบัญชีกลาง ''ประมวลผลจ่ายเงิน'' ให้กับส่วนราชการ 4. เมื่อส่วนราชการได้รับโอนเงินมาแล้วนำไปใช้จ่ายเงินอุดหนุน T-Code ZF_51_K8 เมื่อ Save เข้าระบบแล้ว จะได้เลขที่เอกสารจากระบบ 36xxxxxxxx คู่บัญชี DR ใบสำคัญค้างจ่าย ( 2102040102 ) CR เงินฝากของหน่วยงาน - เงินในงบ(1101020603) เกิดข้อผิดพลาด กลับรายการที่ZFB08 ได้เอกสาร 39xxxxxxxx เกิดข้อผิดพลาด 1.กรณีที่ยังไม่จับคู่หักล้างกลับรายการที่ FB08 2.กรณีถ้าจับคู่หักล้างแล้วกลับรายการที่ ZFI_FBRA 46

  47. การบันทึกรายการเงินอุดหนุนการบันทึกรายการเงินอุดหนุน กรณียังไม่ทราบค่าใช้จ่ายขณะตั้งเบิก (เบิกออกมาเป็นก้อน แล้วนำไปฝากไว้ที่เงินนอกงบ) – แต่เป็นการตัดงบประมาณแล้วผ่าน Terminal 1. ตั้งเบิกเงินอุดหนุน โดยใช้บัญชีพักเบิกเงินอุดหนุน T-Code ZFB60_K8 2. เมื่อ Save เข้าระบบแล้ว จะได้เลขที่เอกสารจากระบบ 36xxxxxxxx ต้องอนุมัติรายการตั้งเบิกที่ P1:ZPMTR_0, P2:ZPMTR_A ระบบจะสร้างเอกสาร KY ให้อัตโนมัติ เดบิต ค้างรับกรมบัญชีกลาง ( 1102050124 ) เครดิตT/ R (4307010101) ระบบจะลงบัญชี PY ให้อัตโนมัติ เดบิต เงินฝากของหน่วยงาน-เงินในงบ (1101020603) เครดิต ค้างรับกรมบัญชีกลาง(1102050124 ) จะบันทึกเป็นบัญชีพักอุดหนุนก่อน และต้องล้างพักอุดหนุนทุกครั้ง รหัสผู้ขาย -จะขึ้นต้นด้วย A คู่บัญชี เดบิต พักเบิกเงินอุดหนุน ( 5107030101) เครดิต ใบสำคัญค้างจ่าย ( 2102040102 ) 3. กรมบัญชีกลาง ''ประมวลผลจ่ายเงิน'' ให้กับส่วนราชการ คู่บัญชี DR ใบสำคัญค้างจ่าย (2102040102 ) CR บัญชีพักรับเงินอุดหนุน (4302040101 ) 4. เมื่อส่วนราชการได้รับโอนเงินมา บันทึกบัญชีพักอุดหนุน T-Code ZF_51_K8 เมื่อ Save ได้เลขที่ 36xxxxxxxx เกิดข้อผิดพลาด ZFB60_K8 กลับรายการที่ ZFB08 ZF_51_K8 กลับรายการที่ - กรณีที่ยังไม่จับคู่หักล้างกลับรายการที่ ZFB08 - กรณีจับคู่หักล้างแล้วกลับรายการที่ ZFI_FBRA ZGL_JR กลับรายการที่ ZFB08 ZF_02_K8 กลับรายการที่ ZFB08 6. บันทึกเมื่อเกิดค่าใช้จ่ายจริง ( เบิกจากเงินนอกงบ-นอก TR1) T-Code ZF_02_K8 ได้เลขที่เอกสาร 36xxxxxxxx 5. นำเงินในงบที่เบิกได้ ไปนำฝากที่บัญชีเงินนอกงบ-นอก TR1 บันทึกบัญชีเงินฝากหน่วยงาน T-Code ZGL_JR ได้เลขที่เอกสาร 01xxxxxxxx คู่บัญชี DR เงินฝากธ.สถาบันการเงินของไทย ( 1101030101-2 ) CR เงินฝากหน่วยงานเงินในงบ (1101020603) คู่บัญชี เดบิต ค่าใช้จ่ายจริง ( 5* ) เครดิต เงินฝากธ.สถาบันการเงินของไทย (1101030101-2 ) 47

  48. การบันทึกรายการเงินประกันผลงานการบันทึกรายการเงินประกันผลงาน ส่วนราชการตกลงกับผู้ขาย ทำสัญญา ที่ตกลงกันว่าจะต้องมีเงินประกันผลงาน ส่วนราชการทำ P/O โดยฝ่ายพัสดุเมื่อทำการตรวจรับเกิดคู่บัญชี Dr. ค่าใช้จ่าย 500,000 Cr. GR / IR 500,000 ส่วนราชการทำ การตั้งเบิก ตั้งเบิกแบบอ้างอิงใบ P/O Dr. GR / IR 500,000 Cr. เจ้าหนี้การค้า 500,000 1 : ลดยอดเจ้าหนี้การค้า T-Code : ZFB65_K3 Dr. เจ้าหนี้การค้า (2101010 102) 50,000 Cr. พักค่าใช้จ่าย ( 5301010101) 50,000 2: บันทึกเจ้าหนี้เงินประกันผลงาน T-Code : = ZFB60_K3 Dr. พักค่าใช้จ่าย ( 5301010101) 50,000 Cr. เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน ( 2112010102) 50,000 ต้องอนุมัติรายการที่ P1:ZPMTR_0,P2:ZPMTR_A เกิดข้อผิดพลาด กลับรายการที่ZFB08 3: ถึงกำหนดตามสัญญาที่จะต้องคืนเงินประกันผลงาน • 3.1. เมื่อถึงกำหนดการจ่ายคืนเงินประกันผลงาน กรมบัญชีกลางจะจ่ายเงินให้อัตโนมัติ • คู่บัญชีที่เกิดขึ้นส่วนราชการ • Dr. เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน ( 2112010102 ) 50,000 • Cr. T / R ( 430 10 70 101 ) 50,000 • ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (กรณี มี W/H) • คู่บัญชีที่เกิดขึ้นกรมบัญชีกลาง • Dr. T/E ( 520 90 10 101 ) 50,000 • Cr. KTB จ่าย ( 110 10 20 105 ) 50,000 3.2 กรณีมีการยึดเงินประกันผลงาน ( T- Code = ZFB65_K3_SP3) Dr. เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน ( 211 20 10 102 ) Cr. รายได้ค่าปรับ ( 420 10 20 199 ) 48

  49. การบันทึกรายการเงินประกันสัญญาการบันทึกรายการเงินประกันสัญญา หมายเหตุ : บันทึกผ่าน Terminal GFMIS (Excel ไม่รองรับ) โดยผ่านรหัสผู้ขาย(Vendor Code) + รหัสบัญชีแยกประเภทพิเศษ (Special G/L) 4 ซึ่งจะกระทบยอดไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไปที่บัญชี 2112010101:เงินประกันสัญญา ***การจ่ายคืนเงินแก่เจ้าหนี้ จะเป็นการจ่ายตรงไปยังบัญชี เงินฝากของเจ้าหนี้ตามวันครบกำหนดคืนเงินที่ระบุ ซึ่งจะจ่ายคืนได้จริงเมื่อผ่านการอนุมัติภายในส่วนราชการแล้วเท่านั้น (ผ่านการอนุมัต P1 และ P2 แล้ว) 1.ขั้นตอนการบันทึกเงิน ส่วนราชการได้รับเงินประกันตามสัญญาจากผู้ขาย T-Code = ZFB60_K4 DR. เงินสด CR. เจ้าหนี้เงินประกันสัญญา ต้องอนุมัติรายการตั้งเบิกที่ P1:ZPMTR_0,P2:ZPMTR_A 3.ส่วนราชการปรับปรุงเงินฝากคลัง T-Code = ZRP_RX Dr. เงินฝากคลัง Cr . เงินรับฝากส่วนราชการ 2.ปรับเงินฝากคลัง ส่วนราชการนำเงินฝากคลัง(เป็นเงินนอกงบ)T-Code= ZRP_R7 Dr. พัก KTB (9999) Cr. เงินสด 4.เมื่อครบกำหนดจ่ายคืน เกิดข้อผิดพลาด แจ้งกรมบัญชีกลางกลับรายการให้ เกิดข้อผิดพลาด กลับรายการที่ ZFB08 4.1.เงื่อนไขเป็นไปตามสัญญา- กรมบัญชีกลางทำการจ่ายคืนเงินอัตโนมัติ 4.2.หากไม่เป็นไปตามสัญญา – ยึดเงินประกันสัญญานั้น 4.2.1 ยึดเงินประกันตามสัญญา T-Code = ZFB65_K4_SP4 Dr. เจ้าหนี้เงินประกันสัญญา Cr . รายได้อื่น เกิดข้อผิดพลาดกลับรายการที่ ZFB08 49

  50. 1. กรณีตั้งเบิกจ่ายผ่านส่วนราชการ ใช้คำสั่งงาน ZFB082. กรณีตั้งเบิกผ่าน PO จ่ายตรงผู้ขาย ใช้คำสั่งงาน MR8M,F-44 การยกเลิกเอกสารการตั้งเบิกมี 2 กรณี 50

More Related