160 likes | 344 Views
ส6 สร้างสรรค์/นวัตกรรม. การบันทึกการสอนบรรยายโดยใช้โปรแกรมบันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์. งานแพทยศาสตรศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://med-ed.psu.ac.th. หมวดคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. งานแพทยศาสตรศึกษา. จุดเริ่มต้น-พัฒนา. บันทึกวิดีทัศน์สำหรับการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์
E N D
ส6 สร้างสรรค์/นวัตกรรม การบันทึกการสอนบรรยายโดยใช้โปรแกรมบันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ งานแพทยศาสตรศึกษาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ http://med-ed.psu.ac.th หมวดคอมพิวเตอร์ช่วยสอน งานแพทยศาสตรศึกษา
จุดเริ่มต้น-พัฒนา บันทึกวิดีทัศน์สำหรับการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์ ในระดับชั้นปี 2 และปี 3 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา
วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษา ทบทวนความรู้ หลังสิ้นสุดการเรียนการสอน สามารถศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติม ผ่านทางเครือข่าย Internet ตลอด 24 ชั่วโมง
การทำงานอยู่ภายใต้เกณฑ์ PDCA โดยมีการพัฒนาเป็นลำดับดังนี้ : (Plan-Do-Check-Act) • ปี 2544 - 2545 บันทึกเป็นวิดีทัศน์ม้วนวิดีทัศน์ • ปี 2546 - 2547 บันทึกเป็นวิดีทัศน์แผ่นซีดี • ปี 2548 - ปัจจุบัน บันทึกเป็นวิดีทัศน์วิดีโอ สตรีมมิ่ง ทำให้ดียิ่งขึ้น ทำให้ดียิ่งขึ้น เริ่มต้น
ปัญหา การบันทึกวิดีทัศน์
ปัญหาที่พบในการบันทึกวิดีทัศน์ปัญหาที่พบในการบันทึกวิดีทัศน์ มีดังนี้ ภาพ ไม่คมชัดเท่าที่ควร เนื้อหาบทเรียน บางส่วนขาดหายไป การปฏิบัติงาน หลายขั้นตอน ใช้เวลาประมาณ 2วัน แผ่น ซีดี ประมาณ 1,350 แผ่น/ปี เจ้าหน้าที่ บันทึกวิดีทัศน์ 2 คน + ค่าล่วงเวลา
บันทึกการสอนบรรยายโดยใช้โปรแกรมบันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์บันทึกการสอนบรรยายโดยใช้โปรแกรมบันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์
ให้นักศึกษามีส่วนร่วมรับผิดชอบให้นักศึกษามีส่วนร่วมรับผิดชอบ ในการบันทึกการเรียนการสอนในแต่ละชั่วโมงการบรรยาย เพื่อเป็นการสร้างความรับผิดชอบ • Start กดปุ่ม F9 เริ่มบันทึก • Stop กดปุ่ม F10 หยุดบันทึก
ขั้นตอนการเตรียมการ (Plan) ศึกษาและทดสอบโปรแกรมที่มีความเหมาะสม จัดเตรียมคอมพิวเตอร์และระบบเสียง อบรมขั้นตอนการบันทึกให้นักศึกษา
ขั้นตอนการทำงาน (Do) 5 4 นำไฟล์บันทึกการสอนเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต 1 เจ้าหน้าที่ตัดต่อและ แปลงไฟล์(1 ชั่วโมง- 3 ชั่วโมง) อาจารย์บรรยาย (เปิดสื่อการสอน) 3 2 หน้าที่ของนักศึกษา เมื่อเข้าสู่การบรรยาย - กดปุ่ม Record หน้าที่ของนักศึกษา เมื่อเสร็จสิ้นการบรรยาย - กดปุ่ม Stop
ผลที่ได้ (Check) 1.ลดภาระงานเจ้าหน้าที่ (ลดคน) • ไม่ต้องมีเจ้าหน้าที่ของงานโสตฯ 2 คน/วัน • ลดการใช้งานกล้องบันทึกวิดีทัศน์ 2 กล้อง/วัน 2.ลดขั้นตอน • ลดการบันทึกวิดีทัศน์ • ลดการแปลงไฟล์จากกล้องบันทึกวิดีทัศน์ไปเป็นแผ่นซีดี • ลดขั้นตอนการบันทึกลงแผ่น ซีดี
ผลที่ได้ (ต่อ) (Check) 3.ลดเวลา • แบบเก่า บันทึกวิดีทัศน์ ใช้เวลาประมาณ 3 วัน • แบบใหม่ บันทึกหน้าจอคอมฯ ใช้เวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง 4.ลดค่าใช้จ่าย • ไม่ต้องจ่ายค่าล่วงเวลาเจ้าหน้าที่บันทึกวิดีทัศน์ 50 บาท/ชม/คน(ประมาณ 16,000 บาท/ปี) • ไม่ต้องใช้ซีดีประมาณ 1,350 แผ่น/ปี (ประมาณ 6,750 บาท/ปี) ลด 22,750 บาท/ปี
ข้อจำกัดทางด้านอุปกรณ์ข้อจำกัดทางด้านอุปกรณ์ มีดังต่อไปนี้ ไม่สามารถมองเห็นภาพอาจารย์ขณะสอนบรรยาย (สามารถแก้ไขได้) ต้องติดตั้งโปรแกรมบันทึกลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้สอนบรรยาย
เปรียบเทียบการบันทึกวิดีทัศน์ กับ โปรแกรมบันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ (Check) • ผลจากการประเมินแบบRating scale 5 scaleโดยนักศึกษาชั้นปรีคลินิก ปีการศึกษา 2550
ผลจากการบันทึก (Act) วิดีทัศน์จากการบันทึกด้วยกล้องวิดีทัศน์ วิดีทัศน์จากการบันทึกด้วยโปรแกรมบันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์
ขอบคุณ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและแพทยศาสตรศึกษา • ผศ.นพ.สิทธิโชค อนันตเสรี หัวหน้าหน่วยพัฒนาสื่อการเรียนรู้ • คุณอัษฎาพร แกล้วทนงค์ • และเจ้าหน้าที่ CAI ทุกท่านที่ร่วมแรงร่วมใจ