450 likes | 1.29k Views
การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคม Social Return on Investment (SROI) SROI 101 and application. โดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และ Rockefeller Foundation. Session 1: Introductory SROI Session 2: Example and practice I
E N D
การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคมSocial Return on Investment (SROI)SROI 101 and application โดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และ Rockefeller Foundation
Session 1: Introductory SROI • Session 2: Example and practice I • Session 3: Example and practice II • Session 4: Discussion, Q&A แนวทาง
Session 1 Introductory SROI นำมาจาก A guide to Social Return on Investment
เป็นเครื่องมือในการวัดว่า โครงการ หรือ กิจกรรม ที่ทำ ให้ผลตอบแทนคุ้มค่ากับเงินหรือทรัพยากรที่ลงไปหรือไม่ • โดยที่ผลตอบแทน ดูตั้งแต่ ผลประโยชน์ที่เป็นเงิน หรือผลดีที่เกิดต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม • ผลดีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างไร วัดให้ออกมาเป็นมูลค่าเหมือนสินค้าได้อย่างไร ? • วัดความเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับ stakeholder • เป็นการวิเคราะห์แบบ outcome based ผลตอบแทนทางสังคม SROI
ผลประโยชน์ที่เป็นเงินผลประโยชน์ที่เป็นเงิน ผลต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม
สำหรับการประเมิน เป็นการมองย้อนหลังสิ่งที่ทำไปแล้ว ว่าผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนั้นมีมูลค่าทางสังคมเท่าไร • สำหรับการพยากรณ์ เป็นการมองไปข้างหน้า ดูว่ามูลค่าทางสังคมจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ถ้ามีการทำโครงการหนึ่งๆ ขึ้น SROI
Early 2000s: new economics foundation Mid 1990s: REDF & Jed Emerson Mainstreaming: nef consulting & others History of SROI Source:NEF
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • วิเคราะห์ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไร • วัดเฉพาะมูลค่าของสิ่งที่สำคัญ • วัดเฉพาะสิ่งที่สามารถวัดได้ • ไม่กล่าวเกินจริง • มีความโปร่งใส • ตรวจสอบผล หลักการสำคัญ
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวิเคราะห์แผนที่ผลลัพธ์การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวิเคราะห์แผนที่ผลลัพธ์ • การเก็บข้อมูล • ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด ตัวแทนทางการเงิน • Deadweight, attribution, displacement • Drop-off, benefit period • การคำนวณ • การรายงาน ขั้นตอน SROI
ทำให้เข้าใจว่าสิ่งที่ดำเนินการเกิดมูลค่าต่อสังคมอย่างไร และจะสามารถเพิ่มมูลค่านั้นได้อย่างไร • ช่วยให้สามารถจัดการกับผลลัพธ์ที่ไม่ได้คาดหวังไว้ • ช่วยทำให้เห็นความสำคัญของผู้อื่นที่ช่วยทำให้เกิดผลลัพธ์ร่วมกัน • ช่วยให้เข้าใจสิ่งที่องค์กรต้องการและสิ่งที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการ • ช่วยให้เกิดการสนทนากับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งจะทำให้เกิดการออกแบบบริการที่มีความหมายกับสังคม การใช้ SROI ในการปรับปรุงการให้บริการ
ได้เกิดการวางแผนยุทธศาสตร์ไปเรียบร้อยแล้ว • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่สนใจผลการวิเคราะห์ • ทำเพื่อพิสูจน์มูลค่าของบริการ โดยไม่มีวัตถุประสงค์ในการปรับปรุง หรือไม่มีใช้ในการเปลี่ยนแปลงการทำงานให้ดีขึ้น SROI มีประโยชน์น้อยถ้า
ในการเปรียบเทียบระหว่างองค์กรหรือโครงการ เพราะมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่แตกต่างกัน • แต่ ใช้ในการเปรียบเทียบโครงการเดิมหรือองค์กรเดิม ในช่วงเวลาต่างๆ ไม่ควรใช้ SROI
Session 2 Example and practice I คนไทยไร้พุง
Session 3 Example and practice II น้ำดื่มปนเปื้อนสารตะกั่วในโรงเรียน
Session 4 อภิปรายถาม-ตอบ
ขอขอบคุณทุกท่าน รอพบกับเรา www.sroi-thailand.wikispaces.com