520 likes | 702 Views
แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา. ผศ.มานิตย์ ผิวขาว รักษาราชการแทนผู้ช่วยคณบดีคณะสังคมศาสตร์ บูรณา การ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เศรษฐศาสตร บัณฑิต. แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา. แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี กับการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา. แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา.
E N D
แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษาแนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา ผศ.มานิตย์ ผิวขาว รักษาราชการแทนผู้ช่วยคณบดีคณะสังคมศาสตร์บูรณาการ ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต
แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษาแนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปีกับการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่ออุดมศึกษา แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย เป้าหมายของกรอบแผนอุดมศึกษา สิ่งที่ต้องพัฒนา แนวทางการพัฒนานักศึกษา โจทย์ของการพัฒนานักศึกษา กรณีศึกษา การพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยต่างๆ คิดนอกกรอบกับการพัฒนานักศึกษา
แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปีกับการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา • ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่ออุดมศึกษา • แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย • เป้าหมายของกรอบแผนอุดมศึกษา • สิ่งที่ต้องพัฒนา • แนวทางการพัฒนานักศึกษา
ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่ออุดมศึกษาผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่ออุดมศึกษา • การเปิดเสรีทางการค้า ( ระดับ ทวิภาคี และ พหุภาคี ) - เกี่ยวข้องกับขีดความสามารถในการแข่งขัน • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี – เกี่ยวข้องกับการวิจัยและพัฒนา • ความขัดแย้งทางการเมือง – เกี่ยวข้องกับ กระบวนการสันติภาพและสันติศึกษา • การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศใหญ่ – จีน อินเดียมีสัมพันธภาพและความร่วมมือที่ดีกับประเทศไทยและอุดมศึกษา • สังคมไทย มีการเคลื่อนตัวของสังคมภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ • ภาคการผลิตใหม่- อุตสาหกรรมฐานความรู้ รูปแบบการใช้พลังงานที่พึ่งพิงการนำเข้า • แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใช้ภาคเศรษฐกิจและสังคม
แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (1) • ความเปลี่ยนแปลงด้านประชากร - ประชากรไทยเพิ่มช้าๆ เด็กเยาวชนลดลง ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้อุดมศึกษาไทยต้องลดกาขยายตัว เน้นคุณภาพเน้นการเพิ่มผลผลิตของคนวัยทำงาน - เน้นการศึกษาต่อเนื่องที่รองรับการเปลี่ยนอาชีพ ต้องส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีประสิทธิภาพการผลิต
แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (2) • พลังงานและสิ่งแวดล้อม - พึ่งพิงการนำเข้าสูง มีผลต่อเศรษฐกิจเพราะราคาเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ อุดมศึกษาต้องสร้างความตระหนักต่อพลังงาน สิ่งแวดล้อม - ผลิตบัณฑิตที่สร้างความรู้สึกด้านอนุรักษ์และจัดการพลังงาน พลังหมุนเวียน โดยเฉพาะพลังงานชีวภาพและพลังงานทางเลือก - สร้างคนและองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ น้ำ ป่าไม้ และ ระบบนิเวศ
แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (4) • การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจไทย
แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (5) • โลกาภิวัตน์
แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (6) • ความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี - เพิ่มผลิตภาพ (Productivity) และ สร้างนวัตกรรม (innovation)ในการผลิตสินค้า - เน้นวิจัยพัฒนา
แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (7) • โลกยุคสารสนเทศ
ภาพอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (8) • การกระจายอำนาจการปกครอง
ภาพอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (9) • การจัดการกับความขัดแย้งและความรุนแรง • ความรุนแรงในสามจังหวัดภาคใต้
แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (10) • เยาวชนไทย นักศึกษาไทย และบัณฑิตในอนาคต (1)
แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (11) • เยาวชนไทย นักศึกษาไทย และบัณฑิตไทยในอนาคต (2)
แนวโน้มอนาคตที่มีผลกระทบต่อโลก ประเทศ และอุดมศึกษาไทย (12) • เยาวชนไทย นักศึกษาไทย และบัณฑิตไทยในอนาคต (3) • ค่านิยมศึกษาในศาสตร์เฉพาะ สาขาเฉพาะไม่เพียงพอ • ต้องเสริมความรู้สมรรถนะที่ช่วยให้สามารถปรับตัวอยู่ในตลาดแรงงาน ได้เป็นอย่างดี • ด้านการอยู่ร่วมในสังคม • การสร้างสรรค์ • ความรู้เชิงปฏิบัติ • ความรู้ พื้นฐานทางโลก ปรัชญา และ สังคม
เป้าหมายของกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2(2551 - 2565) “ ยกระดับอุดมศึกษาไทย เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพสามารถปรับตัวสำหรับงานที่เกิดขึ้นตลอดชีวิต พัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาในการสร้างความรู้และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในโลกาภิวัฒน์ สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของท้องถิ่นไทย โดยใช้กลไกของธรรมาภิบาล การเงิน การกำกับมาตรฐาน และเครือข่ายอุดมศึกษาบนพื้นฐานของเสรีภาพทางวิชาการ ความหลากหลายและเอกภาพเชิงระบบ ”
ประเด็นสำคัญในแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2(2551 - 2565) • การสร้างความสามารถในการรองรับตลาดแรงงานใหม่ - ไมแน่นอน - ทำงานไม่ตรงกับสาขาที่เรียน - เปลี่ยนงานได้บ่อย สาเหตุสำคัญ - ตลาดแรงงานเปลี่ยนบ่อย ยากจะผลิตให้ตรงได้ - ระบบการจ้างงานเปลี่ยนไป - รายได้ไม่แนอน - อายุคน ยืนยาว อาจเปลี่ยงานมากกว่า 1 ครั้ง แนวทางการพัฒนา - ความรู้จริง จากสถานประกอบการและชุมชน - สร้างงานได้ด้วยตนเอง - เรียนรู้วิชาเฉพาะมากกว่า 1 สาขา - เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต - สร้างทักษะชีวิตและงาน
การสร้างความสามารถเพื่อแข่งขันกับนานาชาติการสร้างความสามารถเพื่อแข่งขันกับนานาชาติ - ภาษา และวัฒธรรม - การทำงานระดับนานาชาติ สาเหตุ - การตกลงทางการค้าแบบทวิภาคี พหุภาคี - ทำให้เกิดการแข่งขันในการผลิตสินค้า - การลงทุนในประเทศและต่างประเทศ - ตลาดแรงงานในต่างประเทศและการแข่งขัน
การพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของสังคมการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของสังคม - พหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม - สันติวิธี - สืทธิมนุษยชน สาเหตุ - ความหลากหลายในเผ่าพันธ์ - การรับรู้ข่าวสาร - ผลประโยน์ ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้แต่ต้องแก้ไข ด้วยสันติวิธี บนพื่นฐานประชาธิปไตยและเคารพสิทธิมนุษยชน
การสร้างความรู้ความสามารถเพื่อรองรับการแพร่ขยาย ความรู้ข่าวสารและวัฒนธรรม - การคิดวิเคราะห์ - ค่านิยมไทย ประเพณี วัฒนธรรมไทย สาเหตุ - ความเจริญทางด้าน IT - การแพร่ขยายทางวัฒนธรรมจากต่างประเทศ
ค่านิยม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - ความพอเพียง - ความมีเหตุผล - การมีภูมิคุ้มกัน สาเหตุ - ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม - คนล้มเหลวในการจัดการด้านเศรษฐกิจ - การแพร่ขยายทางวัฒนธรรม
ความตระหนักใน เรื่อง สิ่งแวดล้อมและพลังงาน - การประหยัดพลังงาน - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สาเหตุ - เราต้องพึ่งพิงสิ่งแวดล้อมและพลังงาน - เราต้องอาศัยการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ
การสร้างความเป็นประชาธิปไตยที่ถูกต้อง โปร่งใส - ความรู้ความเข้าใจ - ความศรัทธายึดมั่น - ความตระหนักและการมีส่วนร่วม สาเหตุ - ปัญหาจาการการเลือกตั้ง - ความขัดแย้งทางการเมืองและผลประโยชน์
การสร้างความรู้ความเข้าใจ การประพฤติปฏิบัติที่แก้ไขปัญหานิสิตนักศึกษาในปัจจุบัน - ความรุนแรงในการรับน้องใหม่ - การแต่งกาย - การดื่มสุรา - การเล่นการพนัน
สิ่งที่ต้องพัฒนา • การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง • การเรียนรู้วิชาการวิชาชีพในเชิงปฏิบัติจริง • สร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ • ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม • พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา • ค่านิยมไทย ประเพณีวัฒนธรรม • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย • จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ลักษณะการเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคตลักษณะการเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคต
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (1) • ส่งเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตร (Extra-Curriculum) • เพิ่มการเรียนรู้เยาวชนและนักศึกษาในรูปแบบทักษะชีวิต ทักษะสังคม (Socialization) • พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นวิชาการ (Based line competencies) • การสะสมความรู้ความสามารถเชิงวิชาการที่ฝังตัว(Tacit knowledge and ability) ในลักษณะค่ายการเรียนรู้ ค่ายอาสา หรือ โครงการ และกรรม เสริมหลักสูตร
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (2) • การบูรณาการกิจกรรมนอกหลักสูตรและชีวิตจริงเข้ากับหลักสูตร (Co-Curriculum) เพื่อเรียนรู้การทำงานในภาคการผลิตและภาคสังคม ในลักษณะ - Work Based Education – เช่น สหกิจศึกษา เป็นต้น - Community Based Education เช่น ค่ายเรียนรู้ร่วมกัน สร้างสรรค์ชุมชน เป็นต้น
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (3) • รณรงค์ส่งเสริมการปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นต้นแบบ และ เผยแพร่ให้กับสังคม • จัดการพัฒนาจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตยที่ใสสะอาดถูกต้องและมีสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (4) • จัดทำโครงการเปิดโลกทัศน์และเตรียมความพร้อมนักศึกษาใน โลกาภิวัฒน์พัฒนาเรื่องพหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม (Multicultural) และสันติวิธี • เรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม • การแลกเปลี่ยนนักศึกษา • การเพิ่ม Mobility ของนักศึกษา-อาจารย์ • การจัดหลักสูตรสองภาษา
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (5) • เน้นการเรียนการสอนกิจกรรมการพัฒนาที่เพิ่มพูนทักษะต่างๆ • การสื่อความ • การพัฒนาความเป็นผู้นำ • การแก้ปัญหา • การทำงานเป็นทีม • ความอดทน • คุณธรรม จริยธรรม
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (6) • มีหน่วยงานรับผิดชอบในส่วนกลาง สกอ.และมหาวิทยาลัยให้บริการแนะแนวอาชีพ • บริการแนะแนวอาชีพนักเรียนมัธยมและอาชีวศึกษา • แนะแนวอาชีพและการมีงานทำ (Career counseling) - ให้ข้อมูล - ให้คำปรึกษา - จัดนิทรรศการวิชาชีพให้ผู้ประกอบการและนักศึกษาแนะนำตัว ติดตามสัมฤทธิ์ ผลของานการพัฒนานักศึกษาอย่างเป็นระบบโดยการ สร้างตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) นักศึกษาและมีการติดตามประเมินผล
การเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคตการเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคต
http://pirun.ku.ac.th/~psdvcw/student01.ppt • 22-4-2556
แนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษาแนวทางใหม่ในการพัฒนานักศึกษา • โจทย์ของการพัฒนานักศึกษา • กรณีศึกษา การพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยต่างๆ (ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล เพื่อมานำเสนอ พร้อมข้อวิพากษ์ แล้วมารับข้อเสนอแนะจากอาจารย์) • คิดนอกกรอบกับการพัฒนานักศึกษา (ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล มานำเสนอ แล้วมารับข้อเสนอแนะจากอาจารย์) หมายเหตุ 2 หัวข้อสุดท้ายที่ต้องสืบค้นและนำเสนอ ให้นำเสนอเวลา 14.00 น.
โจทย์ของการพัฒนานักศึกษาโจทย์ของการพัฒนานักศึกษา • เป็นการนำสิ่งที่ต้องพัฒนามาคิดว่า จะมีแนวทางในการพัฒนานักศึกษาอย่างไร? แนวทางดังกล่าวมีความสอดคล้องหรือสามารถบรรลุผลได้จริงหรือไม่ อย่างไร? • จากผลของการพัฒนาตามแนวทางดังกล่าว จะประเด็นสิ่งที่ต้องพัฒนาและแนวทางการพัฒนานักศึกษาใหม่เพิ่มเติมหรือไม่ อย่างไร?
สิ่งที่ต้องพัฒนา • การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง • การเรียนรู้วิชาการวิชาชีพในเชิงปฏิบัติจริง • สร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ • ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม • พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา • ค่านิยมไทย ประเพณีวัฒนธรรม • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย • จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ให้คิดเพิ่มเติมว่า สิ่งที่ต้องพัฒนาใดสอดคล้องกับความสามารถ/ทักษะแต่ละอย่าง? และหากแยกเน้นการพัฒนาตามระดับชั้นปีควรพัฒนาทักษะใดในแต่ละชั้นปี? ลักษณะการเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคต • สิ่งที่ต้องพัฒนา • การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง • การเรียนรู้วิชาการวิชาชีพในเชิงปฏิบัติจริง • สร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ • ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม • พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา • ค่านิยมไทย ประเพณีวัฒนธรรม • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย • จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (1) • ส่งเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตร (Extra-Curriculum) • เพิ่มการเรียนรู้เยาวชนและนักศึกษาในรูปแบบทักษะชีวิต ทักษะสังคม (Socialization) • พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นวิชาการ (Based line competencies) • การสะสมความรู้ความสามารถเชิงวิชาการที่ฝังตัว(Tacit knowledge and ability) ในลักษณะค่ายการเรียนรู้ ค่ายอาสา หรือ โครงการ และกรรม เสริมหลักสูตร
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (2) • การบูรณาการกิจกรรมนอกหลักสูตรและชีวิตจริงเข้ากับหลักสูตร (Co-Curriculum) เพื่อเรียนรู้การทำงานในภาคการผลิตและภาคสังคม ในลักษณะ - Work Based Education – เช่น สหกิจศึกษา เป็นต้น - Community Based Education เช่น ค่ายเรียนรู้ร่วมกัน สร้างสรรค์ชุมชน เป็นต้น
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (3) • รณรงค์ส่งเสริมการปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเป็นต้นแบบ และ เผยแพร่ให้กับสังคม • จัดการพัฒนาจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตยที่ใสสะอาดถูกต้องและมีสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (4) • จัดทำโครงการเปิดโลกทัศน์และเตรียมความพร้อมนักศึกษาใน โลกาภิวัฒน์พัฒนาเรื่องพหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม (Multicultural) และสันติวิธี • เรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม • การแลกเปลี่ยนนักศึกษา • การเพิ่ม Mobility ของนักศึกษา-อาจารย์ • การจัดหลักสูตรสองภาษา
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (5) • เน้นการเรียนการสอนกิจกรรมการพัฒนาที่เพิ่มพูนทักษะต่างๆ • การสื่อความ • การพัฒนาความเป็นผู้นำ • การแก้ปัญหา • การทำงานเป็นทีม • ความอดทน • คุณธรรม จริยธรรม
แนวทางการพัฒนานักศึกษา (6) • มีหน่วยงานรับผิดชอบในส่วนกลาง สกอ.และมหาวิทยาลัยให้บริการแนะแนวอาชีพ • บริการแนะแนวอาชีพนักเรียนมัธยมและอาชีวศึกษา • แนะแนวอาชีพและการมีงานทำ (Career counseling) - ให้ข้อมูล - ให้คำปรึกษา - จัดนิทรรศการวิชาชีพให้ผู้ประกอบการและนักศึกษาแนะนำตัว ติดตามสัมฤทธิ์ ผลของานการพัฒนานักศึกษาอย่างเป็นระบบโดยการ สร้างตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) นักศึกษาและมีการติดตามประเมินผล
ให้คิดเพิ่มเติมว่า สิ่งที่ต้องพัฒนาและแนวทางการพัฒนานักศึกษาสอดคล้องกันอย่างไร? โจทย์ของการพัฒนานักศึกษา สิ่งที่ต้องพัฒนา แนวทางการพัฒนานักศึกษา การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การเรียนรู้วิชาการวิชาชีพในเชิงปฏิบัติจริง สร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา ค่านิยมไทย ประเพณีวัฒนธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เพิ่มการเรียนรู้เยาวชนและนักศึกษาในรูปแบบทักษะชีวิต ทักษะสังคม การพัฒนาที่เพิ่มพูนทักษะต่างๆ(การสื่อความ การพัฒนาความเป็นผู้นำ การแก้ปัญหา การทำงานเป็นทีม ความอดทน คุณธรรม จริยธรรม) พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นวิชาการ การสะสมความรู้ความสามารถเชิงวิชาการที่ฝังตัว เรียนรู้การทำงานในภาคการผลิตและภาคสังคม เรียนรู้พหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม และสันติวิธี ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประชาธิปไตย การแนะแนวอาชีพและการทำงาน
ให้คิดเพิ่มเติมว่า ควรมีประเด็นและแนวทางการพัฒนานักศึกษาเพิ่มเติมอย่างไร? โจทย์ของการพัฒนานักศึกษา สิ่งที่ต้องพัฒนา แนวทางการพัฒนานักศึกษา การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การเรียนรู้วิชาการวิชาชีพในเชิงปฏิบัติจริง สร้างคุณลักษณะผู้ประกอบการ ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรม พหุวัฒนธรรมและสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา ค่านิยมไทย ประเพณีวัฒนธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย จิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม เพิ่มการเรียนรู้เยาวชนและนักศึกษาในรูปแบบทักษะชีวิต ทักษะสังคม การพัฒนาที่เพิ่มพูนทักษะต่างๆ(การสื่อความ การพัฒนาความเป็นผู้นำ การแก้ปัญหา การทำงานเป็นทีม ความอดทน คุณธรรม จริยธรรม) พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นวิชาการ การสะสมความรู้ความสามารถเชิงวิชาการที่ฝังตัว เรียนรู้การทำงานในภาคการผลิตและภาคสังคม เรียนรู้พหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม และสันติวิธี ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประชาธิปไตย การแนะแนวอาชีพและการทำงาน
ให้คิดเพิ่มเติมว่า เห็นด้วยหรือไม่? และหากจะจัดกิจกรรมแยกระดับชั้นปีควรทำอย่างไร? การเรียนรู้ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยในอนาคต • แนวทางการพัฒนานักศึกษา • พัฒนาสมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นวิชาการ • การสะสมความรู้ความสามารถเชิงวิชาการที่ฝังตัว • เรียนรู้การทำงานในภาคการผลิตและภาคสังคม • การแนะแนวอาชีพและการทำงาน • การพัฒนาที่เพิ่มพูนทักษะต่างๆ(การสื่อความ การพัฒนาความเป็นผู้นำ การแก้ปัญหา การทำงานเป็นทีม ความอดทน คุณธรรม จริยธรรม) • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและประชาธิปไตย • เพิ่มการเรียนรู้เยาวชนและนักศึกษาในรูปแบบทักษะชีวิต ทักษะสังคม • เรียนรู้พหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม และสันติวิธี
กรณีศึกษา การพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยต่างๆ • ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล เพื่อมานำเสนอ พร้อมข้อวิพากษ์ แล้วมารับข้อเสนอแนะจากอาจารย์ • ประเด็นการสืบค้นคือ มหาวิทยาลัยต่างๆ(ตัวอย่าง)มีการกำหนดอัตลักษณ์หรือลักษณะ(อาจจะเป็นจุดเน้นหรือลักษณะที่พึงประสงค์)อะไร อย่างไรบ้าง? และมีแนวทางในการพัฒนานักศึกษาในด้านต่างๆอย่างไร?
คิดนอกกรอบกับการพัฒนานักศึกษาคิดนอกกรอบกับการพัฒนานักศึกษา • ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล มานำเสนอ แล้วมารับข้อเสนอแนะจากอาจารย์ • ประเด็นการสืบค้น มีแนวทางในการพัฒนาในด้านต่างๆต่อไปนี้อย่างไร (ปัจจัยกำหนดการพัฒนาด้านนั้น และวิธีการพัฒนาด้านนั้นๆ สิ่งที่เคยทำ และสิ่งที่จะปรับทำใหม่) -การมีส่วนร่วม -การทำงานเป็นทีม -ความคิดสร้างสรรค์ -การคิดวิเคราะห์ และการแก้ปัญหาเป็น -ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม(การบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม) -คุณธรรมจริยธรรม -ความอดทน/เสียสละ -ทักษะการใช้ชีวิต -ทักษะทางสังคม -ทักษะทางวิชาชีพ/วิชาการ -การเตรียมพร้อมรองรับ AEC -จุดเด่น/อัตลักษณ์เฉพาะ -ทักษะทางภาษา -การใช้เทคโนโลยี -งบประมาณ/การทำโครงการ -ความเป็นผู้นำ/ผู้ตาม -การชนะการประกวด -กิจกรรมที่ได้ประโยชน์/สังคมอยากเห็น/ตรงความต้องการของผู้ทำกิจกรรม