80 likes | 218 Views
มาตรการ การลดผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดเชิงรุก รองรับปฏิบัติการ “รวมพลังประชาไทย พ้นภัยยาเสพติด” (๑ เม.ย.-๓๐ ก.ย.๒๕๕๑). มาตรการ การลดผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดเชิงรุก. เป้าหมาย : นำผู้เสพติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการ บำบัดฟื้นฟูระบบสมัครใจให้มากที่สุด
E N D
มาตรการ การลดผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดเชิงรุกรองรับปฏิบัติการ “รวมพลังประชาไทย พ้นภัยยาเสพติด”(๑ เม.ย.-๓๐ ก.ย.๒๕๕๑)
มาตรการ การลดผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดเชิงรุก เป้าหมาย: นำผู้เสพติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการ บำบัดฟื้นฟูระบบสมัครใจให้มากที่สุด กลยุทธ์ : รณรงค์ค้นหาผู้เสพติดยาเสพติดเชิงรุก และนำเข้ารับการบำบัดฟื้นฟูตามความ เหมาะสมกับความรุนแรงของการเสพติด
วิเคราะห์การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด ช่วงประกาศสงครามยาเสพติด(ปี 2546)
ขั้นตอน การดำเนินงาน
จากการมารายงานตัว ของผู้เสพ ผู้ติด จากการค้นหาในพื้นที่ของ ศตส.อ จากการกลั่นกรองรายชื่อ ผู้เสพ ผู้ติดของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในจังหวัด 1. การลงทะเบียนผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด ที่ ศตส.จ./ศตส.อ. • กำหนดช่วงเวลาโอกาสทองในการรายงานตัวแบบสมัครใจ • กำหนดวันรายงานตัว ณ จุดลงทะเบียน • ผู้ว่าฯ ต้องประกาศเป็นนโยบายอย่างจริงจัง/ชี้แจงทำความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • เนื้อหาการจูงใจให้มารายงานตัวต้องชัดเจน เข้มข้น (ถ้ามารายงานตัวจะได้รับโอกาส • อย่างไร ถ้าไม่มารายงานตัวจะเป็นอย่างไร)
ผู้เสพ ผู้ติดรุนแรง 1.ใช้ยาเสพติดเป็นครั้งคราว ไม่ต่อเนื่อง 2.พฤติกรรมเริ่มเปลี่ยนแปลง แต่ยัง สามารถดำเนินชีวิตตามปกติได้ 3.มีการใช้ยาแม้รู้ว่าจะก่อให้เกิดปัญหา 2.การจำแนกคัดกรองและแยกประเภทเพื่อส่งเข้าสู่การบำบัดรักษาฟื้นฟู ผู้ติดยา/สารเสพติดอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานกว่า 3 ปีซึ่งสามารถตรวจสอบได้ทางการแพทย์หรือจากประวัติทางสังคม ไม่สามารถเลิกเสพได้ หรือเคยรักษาแบบบำบัดด้วยยามากกว่า 3 ครั้งใน 1 ปี หรือบำบัดด้วยยาและบำบัดฟื้นฟูรวมกันเกินกว่า 3 ครั้ง หรือไม่ตั้งใจหรือไม่ต้องการเลิกยาเสพติดอย่างจริงจัง หรือเคยถูกจับหรืออยู่ระหว่างการดำเนินคดีเกี่ยวกับการเสพสารเสพติดมากกว่า 3 ครั้ง ผู้ติด 1. มีประวัติการใช้ยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป 2. มีการเพิ่มปริมาณการใช้ยาเสพติด และ มีอาการผิดปกติเมื่อขาดยา มีความ ต้องการใช้อยู่ตลอดเวลา ไม่สามารถ หยุด หรือควบคุมการใช้ได้3. พฤติกรรมการดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลง และไม่สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติ ใช้ฐานที่ รพ./สอ. โดยทีมสหวิชาชีพ - คัดกรองทางการแพทย์ โดย สาธารณสุขในพื้นที่ - คัดกรองทางสังคม โดย ศตส.อ./กิ่งอำเภอ, ศตส.อปท. เพิ่มการทำพันธะสัญญาของผู้เสพติด และครอบครัว การจัดทำทะเบียนและส่งต่อ ศตส.อ./ศตส.อปท.
3. การบำบัดฟื้นฟูตามความเหมาะสมกับความรุนแรงของการเสพติด กลุ่มเสพ กลุ่มติด กลุ่มติดรุนแรง • รูปแบบผู้ป่วยนอก • รูปแบบผู้ป่วยใน • โดยโรงพยาบาลสังกัด ก. สาธารณสุขเป็นหลัก • รูปแบบผู้ป่วยในที่ต้อง • ดูแลระยะยาว • โดยกรมการแพทย์ / กรมสุขภาพจิต/โรงเรียนวิวัฒน์พลเมือง ก.กลาโหม • ค่ายบำบัดในชุมชน • ค่ายทหาร /ตชด./อส. • วัดศูนย์สงเคราะห์ฯ • ทีมสาธารณสุขเป็น พี่เลี้ยงในการทำค่ายบำบัดฯ
จำหน่ายกลับชุมชน/เตรียมรับในชุมชนจำหน่ายกลับชุมชน/เตรียมรับในชุมชน 1. การส่งกลับโดยสถาน บำบัดฯ 2. การเตรียมรับ/ติดตาม ในชุมชน โดย - สถานีอนามัย - ผู้ประสานพลัง แผ่นดิน - ผู้นำชุมชน - ครอบครัว - องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ฟื้นฟูสมรรถภาพและติดตามดูแลต่อ อย่างน้อย 1 ปี โดยชุมชน - มีทีมรับผิดชอบโดยตรง- รูปแบบการติดตาม- แบบฟอร์มรายงาน - ทะเบียนความต้องการด้าน คุณภาพชีวิตของผู้ผ่านการ บำบัด ศูนย์ติดตามและประสานการ ดูแลช่วยเหลือด้านคุณภาพชีวิต ผู้ผ่านการบำบัดฯระดับอำเภอ ศตส.อ./กิ่งอำเภอ และ ศตส.อปท. * ในส่วนของกทม. รายงานมาที่ศูนย์ข้อมูลเขต (เข้าระบบ บสต.) ส่งข้อมูลให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ทีมติดตาม - ก.แรงงานในพื้นที่ - ก.พัฒนาสังคมฯในพื้นที่ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สอ. เข้าสู่ระบบการรายงานข้อมูล