310 likes | 525 Views
เห็ดไทยกับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕. สัญชัย ตันตยาภรณ์ ที่ปรึกษากรมวิชาการเกษตร. ประเทศผู้ผลิตเห็ดรายใหญ่ของโลก(ตัน) FAO ๒๐๐๒. การผลิตเห็ดของโลก ปี ๑๙๖๐-๒๐๐๒ ( Chang:JIMM 2008). ชนิดและปริมาณเห็ดที่เพาะเป็นการค้าในโลกปี๒๕๓๓-๒๕๔๐(นน.สด x ๑,๐๐๐ ตัน) Chang.
E N D
เห็ดไทยกับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเห็ดไทยกับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕ สัญชัย ตันตยาภรณ์ ที่ปรึกษากรมวิชาการเกษตร
การผลิตเห็ดของโลก ปี ๑๙๖๐-๒๐๐๒(Chang:JIMM 2008)
ชนิดและปริมาณเห็ดที่เพาะเป็นการค้าในโลกปี๒๕๓๓-๒๕๔๐(นน.สดx๑,๐๐๐ ตัน) Chang
มูลค่าอุตสาหกรรมเห็ดของโลกปี ๒๕๕๑ • มากกว่า ๔๕,๐๐๐ ล้านดอลลาร์ • เห็ดสำหรับบริโภค ๓๕,๐๐๐ ล้านดอลลาร์ • เห็ดสมุนไพร ๑๐,๐๐๐ ล้านดอลลาร์ • เห็ดป่า ประมาณ ๔-๕,๐๐๐ ล้านดอลลาร์
ประเทศผู้ผลิตเห็ดแห้งรายใหญ่ของโลกปี ๒๕๓๔ (ตัน)
ประเทศผู้นำเข้าเห็ดแห้งรายใหญ่ของโลก ปี ๒๕๔๔(x ๑,๐๐๐$)
ประเทศผู้นำเข้าเห็ดรายใหญ่ของโลกปี ๒๕๔๔ (x,๑,๐๐๐$)
สถิติการส่งออกเห็ดกระป๋องของไทย(บาท)สถิติการส่งออกเห็ดกระป๋องของไทย(บาท)
สถิติการส่งออกเห็ดสดของไทย(บาท)สถิติการส่งออกเห็ดสดของไทย(บาท)
สถิติการส่งออกเห็ดหูหนูแห้งของไทย(บาท)สถิติการส่งออกเห็ดหูหนูแห้งของไทย(บาท)
สถิติการนำเข้าเห็ดของประเทศไทยปี๒๕๕๔สถิติการนำเข้าเห็ดของประเทศไทยปี๒๕๕๔
การผลิตและการค้าเห็ดของมาเลเซีย (MAM๒๕๕๐) • จำนวนผู้เพาะ (๒๕๕๑) ๓๐๐ ราย • ผลิตน้อยกว่า ๕๐ กก. ต่อวัน ๒๗๑ ราย • ผลิตระหว่าง ๕๐-๑๐๐ กก.ต่อวัน ๕๗ ราย • ผลิตมากกว่า ๕๐๐ กก. ต่อวัน ๖ ราย
การผลิตและการค้าเห็ดของมาเลเซีย (MAM๒๐๐๗) • การผลิตวันละ ๒๔,๐๐๐ กก • ความต้องการ วันละ กว่า ๕๐,๐๐๐ กก • นำเข้าปีละ ๒๑,๐๗๗ ตัน • ส่งออกปีละ ๔,๘๐๕ ตัน • ชนิดเห็ดที่เพาะ Pleurotus ostreatus P. sajor-caju
การผลิตและการค้าเห็ดของเมียนมาร์การผลิตและการค้าเห็ดของเมียนมาร์ ชนิดเห็ดที่ผลิตและราคา • เห็ดฟางสด ราคา กก.ละ ๑๐๐ บาท • เห็ดหอมสดราคากก.ละ ๓๐๐ บาท (อัตราแลกเปลี่ยน ๑,๐๐๐ จั๊ต ต่อ ๓๘ บาท) • เห็ดนางรม • เห็ดหัวลิง • เห็ดหลินจือ
การผลิตและการค้าเห็ดของเมียนมาร์การผลิตและการค้าเห็ดของเมียนมาร์ • ผู้ผลิตรายใหญ่เป็นรัฐวิสาหกิจ Myanmar Plantation Crops and Farms Enterprise • มีฟาร์มรายย่อย • ปัญหาคือเชื้อเห็ดฟางที่มีคุณภาพ • มีรายงานภาคเอกชนมาเลเซียสนใจลงทุนทำฟาร์มเห็ดหอมขนาดใหญ่เพื่อการส่งออก อยู่ระหว่างการเจรจารายละเอียด
การผลิตและการค้าเห็ดของเมียนมาร์การผลิตและการค้าเห็ดของเมียนมาร์
อนาคตอุตสาหกรรมเห็ดไทยอนาคตอุตสาหกรรมเห็ดไทย • การแข่งขันรุนแรง ผลจากข้อตกลงเขตการค้าเสรี จำเป็นต้องปรับตัว • เห็ดเมืองร้อนยังเป็นข้อได้เปรียบของไทยทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดส่งออก • เห็ดชนิดใหม่ เห็ดสมุนไพร เห็ดป่า • การวิจัยต่อเนื่องมีความจำเป็น เพื่อลดต้นทุนการผลิต ผลิตเห็ดชนิดใหม่ การแปรรูป • ประชาสัมพันธ์ต่อเนื่องเพื่อขยายตลาดภายในประเทศ
การผลิตและการค้าเห็ดของเวียดนาม (๒๕๕๑) ผลิตเห็ด ๑๐ ชนิด ที่สำคัญ ๖ ชนิด • เห็ดแชมปิญอง • เห็ดฟาง • เห็ดนางรม • เห็ดหูหนู • เห็ดหอม • เห็ดหลินจือ • ทางเหนือเพาะเห็ดแชมปิญอง เห็ดหอม เห็ดหูหนู ทางใต้เพาะ เห็ดฟาง เห็ดนางรม
การผลิตและการค้าเห็ดของเวียดนาม (๒๕๕๑) ผลผลิตต่อปี ๑๕๐,๐๐๐ ตัน เห็ดสด • บริโภคภายในประเทศ ๖๐% ส่งออก ๔๐% • มูลค่าส่งออก ๑,๒๐๐ ล้านบาท • เห็ดส่งออก เห็ดฟาง เห็ดแชมปิญอง • ตลาดหลัก สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น อิตาลี • เวียดนามเป็นผู้ส่งออกเห็ดฟางอันดับ ๓ ของโลก
การผลิตและการค้าเห็ดของเวียดนาม (๒๕๕๑) ราคาเห็ดขายปลีก (ต่อ กก.) • เห็ดนางรม ๑๒,๐๐๐ ด่อง ประมาณ ๑๘ บาท • เห็ดฟาง ๔๐,๐๐๐ ด่อง ประมาณ ๕๘ บาท • เห็ดหลินจือ ๖๐๐,๐๐๐ ด่อง ประมาณ ๗๘๐ บาท
การผลิตและการค้าเห็ดของเวียดนาม (๒๕๕๑) ยุทธศาสตร์ ๒๕๕๓ • ใช้ประโยชน์จาก ๑๐ % ของวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว ขี้เลื่อย และ ตะกอนจากโรงงาน้ำตาล เพื่อผลิตเห็ดสดให้ได้ ๑ ล้านตัน • ส่งออก ๕๐ % บริโภคภายในประเทศ ๕๐ % • ได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิคจาก อังกฤษ เยอรมัน และ สหรัฐอเมริกา
อนาคตอุตสาหกรรมเห็ดไทยอนาคตอุตสาหกรรมเห็ดไทย • การแข่งขันรุนแรง ผลจากข้อตกลงเขตการค้าเสรี จำเป็นต้องปรับตัว • ตลาดที่น่าสนใจคือเมียนมาร์ • คู่แข่งที่ควรจับตามองคือเวียดนาม • เห็ดเมืองร้อนยังเป็นข้อได้เปรียบของไทยทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดส่งออก • เห็ดชนิดใหม่ เห็ดสมุนไพร เห็ดป่า • การวิจัยต่อเนื่องมีความจำเป็น เพื่อลดต้นทุนการผลิต ผลิตเห็ดชนิดใหม่ การแปรรูป • แผนแม่บทเพื่อพัฒนาเห็ดไทย