1.25k likes | 1.56k Views
ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลด ไฟล์นำเสนอ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเว็บบอร์ดกับนพ.อมร นนทสุต ได้ที่ http://www.esanphc.net หัวข้อ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์. เรื่องหมู ๆ.
E N D
ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลด ไฟล์นำเสนอ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเว็บบอร์ดกับนพ.อมร นนทสุต ได้ที่ http://www.esanphc.netหัวข้อ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
เรื่องหมู ๆ ลุงบุญหนีซื้อหมูมาหนึ่งตัว ราคา 100 บาท เลี้ยงอยู่ระยะหนึ่งก็ขายไปในราคา 200 บาท ต่อมานึกเสียดายจึงไปซื้อคืนมา ในราคา 300 บาท และอีกไม่นานนัก มีผู้มาติดต่อขอซื้อ ลุงบุญหนีก็ขายไปในที่สุดราคา 400 บาท ถ้าไม่คิดค่าใช้จ่ายอื่นๆ ลุงบุญหนีได้กำไร หรือเท่าทุน หรือขาดทุนเป็นเงินเท่าไหร่
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ STRATEGIC ROUTE MAP เป้าหมายสูงสุด/วิสัยทัศน์ แผนงาน/โครงการ การปฏิบัติขององค์กรและบุคคล แผนที่ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์(ที่มีอยู่)
ภาพที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะของระยะ ทิศทาง ตำแหน่ง ในการปฏิบัติการหรือสิ่งที่เราจะทำ แผนที่ ยุทธศาสตร์ วิธีการ สำคัญที่ทำให้ไปถึงจุดหมายปลายทางที่ตั้งไว้ ได้ดีที่สุด หรือวิธีการที่จะทำให้งานสำเร็จ
แผนที่หมู่บ้าน V.S. แผนที่ยุทธศาสตร์ อาณาเขต คุ้ม/ละแวก ต่าง ๆ แสดงจุดสำคัญ ๆ ในหมู่บ้าน เช่น วัด โรงเรียน ศาลากลางบ้าน บ้านผู้นำ บ่อน้ำสาธารณะ ฯลฯ แสดงเส้นทางเชื่อมโยงในหมู่บ้าน อาณาเขตมุมมองระดับ ต่าง ๆ แสดงจุดสำคัญของยุทธศาสตร์ ได้แก่ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (strategic objective)และ กลยุทธ์ของเป้าประสงค์เหล่านั้น แสดงความเชื่อมโยงระหว่าง มุมมอง/เป้าประสงค์
มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์มุมมองในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มุมมองเชิงคุณค่า (ประชาชน) มุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ภาคี) มุมมองการบริหารจัดการ(กระบวนการ) มุมมองการเรียนรู้และพัฒนา(รากฐาน)
องค์กรที่จะใช้ยุทธศาสตร์องค์กรที่จะใช้ยุทธศาสตร์ (เจ้าภาพ)
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ STRATEGIC ROUTE MAP • (สรุป) คือ เครื่องมือที่ใช้บริหารจัดการยุทธศาสตร์ที่ท้องถิ่น ชุมชน องค์กรสร้างขึ้นมาหรือมีอยู่แล้ว ให้เกิดความสำเร็จ
คนสำคัญในกระบวนการพัฒนาโดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์คนสำคัญในกระบวนการพัฒนาโดยใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ ผู้นำและแกนนำชุมชน/องค์กร ทีมพี่เลี้ยง/พี่เลี้ยงตัวหลัก ทีมสนับสนุนจากภายนอก ประชาชนในชุมชน/องค์กร ทีมภาคี เครือข่าย ต้องสร้างและใช้ร่วมกัน
SRM กับชีวิตจริงในองค์กรราชการ มีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แล้วจะตอบ: ผลสัมฤทธิ์ กระบวนการที่ทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (หลักฐาน/เหตุผลชัดเจนที่บอกว่าเรามีส่วนสำคัญให้เกิดผลผลสัมฤทธิ์) PMQA : 7 หมวด • SRM : เครื่องนำทางไปสู่จุดหมายปลายทาง • รู้ว่าจะไปทางไหนจึงจะดีที่สุด (ในบริบทต่าง ๆ) • รู้ว่าจะทำอะไรที่สำคัญที่สุด
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ 2.กำหนดจุดหมายปลายทาง เราจะไปไหน? 3.เขียนแผนที่การเดินทางไปสู่จุดหมายปลายทาง 1.วิเคราะห์สถานการณ์ เราอยู่ที่ไหน?
กระบวนการและขั้นตอนการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Route Map) 1 วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ ( กำหนดจุดหมายปลายทาง 1 2 3 (1)สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ (2) ตรวจสอบกับยุทธศาสตร์ สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์และแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ 2 4 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) นิยามวัตถุประสงค์ (ตาราง 11 ช่อง) 5 นิยามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 4 6 สร้างแผนปฏิบัติการ(Mini-SLM) 7 เปิดงานและการติดตามผล
เรื่องการเรียนรู้สำหรับผู้ใหญ่ในช่วงระยะเวลา 3 วัน การอ่าน การฟัง การเห็น การเห็นร่วมกับการฟัง การที่ผู้เรียนพูดออกมา การลงมือทำ 10% 20% 30% 50% 70% 90% ร้อยละในการจดจำ กิจกรรม
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การพัฒนา :เราอยู่ตรงไหนของการพัฒนา สถานการณ์การพัฒนาสุขภาพในชุมชน ขั้นตอนนี้มีความสำคัญมาก เพราะเป็นบ่อเกิดของความคิดต่างๆ ที่จะได้รับการบรรจุไว้ในการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ในขั้นตอนต่อๆ ไป จึงต้องพยายามให้ทีมงานได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะความคิดใหม่ๆ ที่อาจจะมีอยู่ในตัวผู้ทำงานซึ่งอาจจะแก้ปัญหาที่ประสบอยู่ในขณะนั้นได้ ควรให้เวลาและความประณีตในการร่วมคิด ร่วมทำ ทั้งภาพอดีต ปัจจุบัน อนาคต จุดเด่น จุดด้อย และสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น
4 ชุดคำถาม 1.1. ประชาชนในชุมชนของเรา แสดงบทบาทและมีพฤติกรรมอย่างไร ได้รับอะไรจากการพัฒนา รวมทั้งสิ่งดีๆ และสิ่งที่ยังไม่ดีในชุมชนของเราคืออะไรบ้าง 1.2. เราต้องการเห็นประชาชนในชุมชนของเราเป็นอย่างไรบ้างในระยะ 3 – 5 ปีข้างหน้านี้ ทั้งในระดับส่วนบุคคล ครอบครัว องค์กรและทั้งชุมชน ชุดคำถาม1 จัดกลุ่มคำตอบในชุดนี้สู่กลุ่มความคิดเรื่อง ประชาชน
4 ชุดคำถาม 2.1. ที่ผ่านมา ใครบ้าง กลุ่มใด ที่เป็นเพื่อนของเราในการทำงานพัฒนาสุขภาพชุมชน (ทั้งในชุมชนและนอกชุมชน) เพื่อนเหล่านั้นแสดงบทบาทอย่างไรบ้าง 2.2.เราต้องการให้ใครบ้างมาเป็นเพื่อนร่วมการทำงานในระยะ 3 – 5 ปีข้างหน้านี้ และต้องการให้เพื่อนเหล่านั้นแสดงบทบาทอย่างไรบ้าง ชุดคำถาม2 จัดกลุ่มคำตอบในชุดนี้สู่กลุ่มความคิดเรื่อง ภาคีเครือข่าย
4 ชุดคำถาม 3.1.ที่ผ่านมาเรามีวิธีการทำงานหรือการบริหารจัดการอย่างไรในการไปสู่เป้าหมาย รวมทั้งการสื่อสารของชุมชน ซึ่งหมายถึง กระบวนการบริหารจัดการที่สำคัญ ๆ 3.2.เราต้องการเห็นกระบวนการทำงานหรือการบริหารจัดการขององค์กรอย่างไรในระยะ 3 – 5 ปีข้างหน้านี้ ชุดคำถาม3 จัดกลุ่มคำตอบในชุดนี้สู่กลุ่มความคิดเรื่อง กระบวนการ
4 ชุดคำถาม 4.1. ที่ผ่านมาทีมงานของเราเป็นอย่างไรบ้าง ในเรื่องความรู้ความสามารถ คุณธรรม ความเพียร ความรัก สามัคคี รวมถึงโครงสร้างองค์กรในชุมชน วัฒนธรรมชุมชน/องค์กร และวิถีชีวิต การพัฒนาแกนนำของชุมชน 4.2. ในอนาคต เราต้องการเห็นทีมงานของเราเป็นอย่างไรบ้าง ในระยะ 3 – 5 ปีข้างหน้านี้ ชุดคำถาม4 จัดกลุ่มคำตอบในชุดนี้สู่กลุ่มความคิดเรื่อง รากฐาน
4 ชุดคำถาม 4.3. ที่ผ่านมาข้อมูลที่จำเป็น ในการทำงานของเรามีอะไรบ้าง ได้มาจากไหน อย่างไร และนำไปใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง 4.4.ในอนาคต เราต้องการเห็นระบบข้อมูลของเราเป็นอย่างไรบ้าง ในระยะ 3 – 5 ปีข้างหน้านี้ ชุดคำถาม4 จัดกลุ่มคำตอบในชุดนี้สู่กลุ่มความคิดเรื่อง รากฐาน
สถานการณ์การพัฒนาสุขภาพในชุมชนสถานการณ์การพัฒนาสุขภาพในชุมชน
แผนที่ความคิด (Mind Map) หลักการและกติกา • ทุกความคิดมีค่า อย่าฆ่าทิ้ง • ทุกความคิดเห็นต้องได้รับการบันทึกในแผนที่ • คิดอย่างอิสระ เท่าเทียม ทั่วถึง • จัดระบบความคิด (เป็นกลุ่ม/หมวดหมู่และ เชื่อมโยง)
ขั้นตอนการทำแผนที่ยุทธศาสตร์(Strategic Map) 1. วิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบล • จุดดี • จุดด้อย • สิ่งที่อยากเห็น(ประชาชนจะได้อะไร / จะต้องมีอะไร / จะต้องแสดงบทบาทอะไร) • จุดดี • จุดด้อย • กระบวนการ / • การบริหารจัดการขององค์กร • ที่จะทำให้ภาคีแสดงบทบาทได้ ประชาชน กระบวนการ วิเคราะห์ สถานการณ์ • จุดดี / จุดด้อย • สิ่งที่ต้องการเห็นหรือสิ่งที่องค์กรต้องเตรียมให้พร้อม(องค์กรจะเข้มแข็งต้องอาศัยอะไรเป็นพื้นฐาน) พื้นฐาน ภาคี • มีภาคีอะไรบ้าง / เป็นอย่างไร • สิ่งที่อยากเห็นเราคาดหวังให้ภาคี(แต่ละส่วน)แสดงบทบาทอะไร
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การวิเคราะห์ด้วยภาพแผนที่ความคิด(Mind Map) สถานการณ์โรคที่เป็นภัยเงียบในชุมชน กิ่งทั้ง 4 ของภาพแผนที่ความคิดแสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ทั้งหมดที่เป็นอยู่
สรุปบทเรียน 1 บรรยากาศทั่วไปของกลุ่ม –สนุกสนาน (จนบางกลุ่มลืมประเด็น) การมีส่วนร่วม - ดี มีส่วนร่วมทุกคน เนื้อหา/ประเด็น - เวลา - เหมาะสม/ น้อย / พูดมากแต่เก็บประเด็นได้น้อย/อย่ารีบร้อนควรสนใจประสิทธิภาพ บทบาทของสมาชิก/ผู้นำกลุ่ม -ดี อุปสรรค/สิ่งที่ติดขัด – ข้อคำถาม/ประเด็นไม่ชัด/ ไม่ศึกษาประเด็นข้อคำถาม การตีความประเด็นคำถาม ข้อเสนอและวิธีการแก้ปัญหา/อุปสรรคในกลุ่ม - – ควรมีเวลาในการสรุปความคิดรวบยอด, มีปากกาเพิ่ม, มีกระดาษเพิ่ม/ใหญ่ขึ้น อื่น ๆ -
กำหนดจุดหมายปลายทาง (Destination Statement) “ก่อนออกเดินทางต้องทราบจุดหมายปลายทาง”
ความหมายของจุดหมายปลายทางความหมายของจุดหมายปลายทาง • ไม่ใช่การแสดงวิสัยทัศน์หรือพันธะกิจ • อธิบายภาพอนาคตที่คาดหวังอย่างชัดเจน • อธิบายยุทธศาสตร์เดิมที่ใช้อยู่ (ถ้ามี) • กรอบเวลา 3- 5 ปี • แสดงความเป็นไปได้ (ในอำนาจขององค์กรของเรา) • เป็นความคิดใหม่ๆ ที่มีคุณค่าต่อองค์กร/ประชาชน/สังคม • ประกอบด้วยผังจุดหมายปลายทางและคำอธิบาย • มีประมาณ 20-30 จุดหมายปลายทาง
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผังจุดหมายปลายทาง การจัดการโรคที่เป็นภัยเงียบในชุมชนอำเภอ... ภายในปี พ.ศ. ....
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ลักษณะของผังจุดหมายปลายทาง รวมประโยคไว้ภายใต้หัวข้อจำนวนหนึ่ง กระบวนการ ประชาชน / ชุมชน เราจะทำอะไรที่จะนำรากฐานที่ดีไปสร้างความเปลี่ยนแปลง/กระทบต่อ ภาคี /ประชาชน ต้องการอะไร มีบทบาท มีข้อผูกพันอย่างไร ภาคี / พันธมิตร รากฐาน เราต้องการรูปองค์กรอย่างไร บุคลากรมีกระบวนทัศน์ ทักษะความสามารถ ด้านใด อย่างไรวัฒนธรรมขององค์กรที่ต้องการเป็นอย่างไรฐานข้อมูลที่ต้องการเป็นอย่างไร ใคร/องค์กรใดบ้างที่จะต้องช่วยกัน แต่ละองค์กรต้องมีบทบาทอย่างไรบ้าง
จุดหมายปลายทางการพัฒนาตำบลเหมืองใหม่สร้างสุขภาพ ภายในปี 2554 ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) มีการสร้างจิตสำนึกและศรัทธา มีระบบการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงประชาชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในและนอกชุมชน มีการสร้างขวัญกำลังใจและเชิดชูเกียรติ มีการเชื่อมโยงระหว่างครอบครัวกับชุมชน มีการสร้างเครือข่ายด้านสุขภาพทั้งภายในและภายนอก มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ระดับรากฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีศูนย์ข้อมูลข่าวสารทันสมัยเป็นปัจจุบัน มีการสร้างและพัฒนาทักษะผู้นำ มีการทำงานเป็นทีม มีผู้นำที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีบุคลากรเพียงพอ มีทุนในการดำเนินงาน • ระดับประชาชน ชุมชน (มุมมองเชิงคุณค่า) • มีวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเหมาะสม • มีการใช้มาตรการทางสังคมของชุมชน • ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดกิจกรรม • ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • ประชาชนมีสุขภาพดี • ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) • มี อปท. นำร่องด้านสุขภาพ • มีหน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องไปในทางเดียวกัน • มีวัดสะอาดและวัดส่งเสริมสุขภาพ • มีโรงเรียนดำเนินกิจกรรมโรงเรียนสีขาว • มีศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชนมีประสิทธิภาพ พร้อมคำอธิบาย และ เสนอ ผู้บริหารองค์กร
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จุดหมายปลายทางการพัฒนาตำบลป่าพะยอม กินดี อยู่ดี มีสุข ภายในปี 2552 (28 กค. 49 13.42) • ระดับประชาชน / ชุมชน (มุมมองเชิงคุณค่า) • มีโครงการของชุมชนโดยชุมชน (ธนาคารบุญความดี) • มีระบบเฝ้าระวัง บำรุงรักษา และขจัดสิ่งไม่ดีในชุมชน (ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน/ภัยพิบัติ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ) • มีรายได้พอเพียงตามเกณฑ์ จปฐ. • มีครอบครัวอบอุ่น (ลดละเลิกอบายมุข/ปฏิบัติตามกฎจราจร) • มีการกำหนดผังเมืองทั้ง 7 หมู่ • มีกองทุนที่เข้มแข็ง • ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) • เครือข่ายชุมชนภายในตำบลร่วมสนับสนุนทรัพยากร • ม.ทักษิณสนับสนุนวิชาการต่อเนื่อง • อบต./อบจ.สนับสนุนงบประมาณ • องค์กรภาครัฐ สนับสนุนทรัพยากรและแก้ป้ญหา • รัฐวิสาหกิจ/เอกชนสนับสนุนกิจกรรมชุมชนอย่างต่อเนื่อง ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) • มีการบริหารจัดการกองทุนที่เข้มแข็ง • มีการบริหารจัดการที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ • มีการใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในการบูรณาการแผนชุมชน(กลไกการประสานงาน กำหนดปฏิทินชุมชน) • มีระบบการสื่อสารที่ดี (ครอบคลุมทุกพื้นที่,กลุ่ม,เครือข่าย) • มีนวัตกรรมสุขภาพของชุมชน • มีการยกฐานะ อบต.เป็นเทศบาลตำบล ระดับรากฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) • บุคลากรของชุมชน มีความรู้ ทักษะและความสามารถ • มีฐานข้อมูลตำบลที่ครบถ้วนถูกต้อง • มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชน • มีวัฒนธรรมชุมชนที่ดี (รัก สามัคคีมีคุณธรรม จริยธรรม ทำงานเป็นทีม) พร้อมคำอธิบาย และ เสนอ ผู้บริหารองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนาสุขภาพระดับตำบล จ.บุรีรัมย์ ภายในปี 2554
แบบผังจุดหมายปลายทาง หมู่บ้านอยู่ดีกินดี อยู่เย็นเป็นสุข อยู่รอดปลอดภัย บ้านคำ-น้ำทิพย์ ตำบลคำเลาะ อำเภอไชยวาน จังหวัดอุดรธานี ภายในปี 2551 – 2554
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์
มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา(ระดับรากฐาน)(Learning and Development Perspective) เป็นมุมมองด้านความพร้อมขององค์กร/พื้นที่ ที่แสดงว่า... ... พัฒนารากฐานอะไร? เพื่อความเข้มแข็งและบรรลุผลการพัฒนาได้ เช่น -คนในองค์กร/พื้นที่... เรียนรู้อะไรบ้าง ต้องการพัฒนาทักษะ/ ความรู้ อย่างไร ? -ข้อมูล....มีการจัดระบบข้อมูล /ใช้ประโยชน์อย่างไร ? -องค์กร... โครงสร้างองค์กร/วัฒนธรรมการทำงานอย่างไร? กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มุมมองเชิงการบริหารจัดการ(ระดับกระบวนการ)(Management Perspective) เป็นมุมมองด้านการบริหารจัดการภายในองค์กร ที่แสดงถึง ... การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการอะไร อย่างไร เพื่อตอบสนองเป้าหมายการพัฒนา โดยระบุการบริหารจัดการเฉพาะจุดที่สำคัญสูง เช่น การใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการ การสร้างและบริหารเครือข่าย การจัดระบบการสื่อสารการจัดการนวัตกรรม การพัฒนาระบบบริการ เป็นต้น กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(ระดับภาคี) (Stakeholder Perspective) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป็นมุมมองด้านบทบาทพันธมิตร/หุ้นส่วนการทำงาน (ภาคีหน่วยงานต่างๆองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ผู้สนับสนุน และประชาคม) ว่า... ..ผู้มีส่วนร่วมการพัฒนากับเรา คือใครบ้าง? และมีบทบาทอย่างไร? เพื่อสนับสนุนการพัฒนาอย่างสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน/หน่วยงาน… (เป็นผลมาจากการดำเนินการจากรากฐานและกระบวนการ)