130 likes | 407 Views
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( service plan ) สาขาการให้บริการผู้ป่วยทารกแรกเกิด. เป้าหมาย * เกิดการจัดการระบบการดูแลทารกแรกเกิด * เกิดระบบส่งต่ออย่างเหมาะสม * พัฒนาสถานบริการทุกระดับให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ ตามบริบทและขีดความสามารถที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด.
E N D
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( service plan ) สาขาการให้บริการผู้ป่วยทารกแรกเกิด เป้าหมาย* เกิดการจัดการระบบการดูแลทารกแรกเกิด * เกิดระบบส่งต่ออย่างเหมาะสม * พัฒนาสถานบริการทุกระดับให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้ ตามบริบทและขีดความสามารถที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ระบบบริการสุขภาพในประเด็นสำคัญและเร่งด่วน 3 ประเด็น 1.ทารกเกิดก่อนกำหนดและทารกครบกำหนดที่มีน้ำหนักแรกเกิด น้อยกว่า 2500 กรัม 2.ระบบการรับและส่งต่อทารกแรกแผนพัฒนาเกิดระหว่างสถานบริการ ยังไม่ได้มาตรฐานสากล 3.ภาวะพร่องออกซิเจนในทารกแรกเกิด (birth asphyxia)
ขีดความสามารถที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด๒๕๖๐ขีดความสามารถที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด๒๕๖๐ • รพช F2 รพ.พระสมุทรเจดีย์ • รพช.F1 รพ.บางจาก • รพช.แม่ข่าย M2 รพ.บางบ่อ • รพท.M1 รพ.บางพลี • รพท.S รพ.สป. • รพศ.A2 • รพศ.A1
การแบ่งระดับการดูแลรักษาทารกแรกเกิดการแบ่งระดับการดูแลรักษาทารกแรกเกิด รพ.สต: ไม่มีการคลอด , ANC คุณภาพ * ส่งเสริม ให้ความรู้ให้เด็กผู้หญิงยุคใหม่มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ตั้งครรภ์ในวัยที่เหมาะสม * ให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์(ANC)ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมตามเกณฑ์ * สามารถคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงและส่งต่อได้อย่างเหมาะสม รพช.F3* ให้การดูแลเบื้องต้นหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงและส่งต่อได้อย่างเหมาะสม * สามารถตรวจครรภ์โดยใช้เครื่อง U/S เพื่อประเมินอายุครรภ์ ส่วนนำ ตำแหน่งรวมทั้งลักษณะของรก และปริมาณน้ำคร่ำ
รพช.F3 * สามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ในระยะคลอด ทำคลอด และให้การดูแลหลังคลอดได้ตามมาตรฐาน * สามารถประเมินให้การช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ ที่มีความเสี่ยงขณะคลอดได้ * สามารถให้การช่วยเหลือทารกแรกเกิด (neonatal resuscitation) ทุกรายได้อย่างเหมาะสม * สามารถตรวจติดตามทารกแรกเกิดอายุครรภ์ครบกำหนด เมื่ออายุครบ 7 วัน คัดกรองความผิดปกติ ให้คำแนะนำ รวมทั้งส่งต่อได้อย่างเหมาะสม * ตรวจประเมินและให้การดูแลทารกแรกเกิดปกติได้ * ให้การช่วยเหลือเบื้องต้นทารกแรกเกิดที่ป่วย สามารถคัดกรองทารกที่มี ความเสี่ยงและส่งต่อได้อย่างเหมาะสม
รพช.F3 *ให้การดูแลติดตามทารกที่โรคเรื้อรังและได้รับการดูแลต่อที่บ้านได้รพช.F3 *ให้การดูแลติดตามทารกที่โรคเรื้อรังและได้รับการดูแลต่อที่บ้านได้ รพช.F2*ดูแลทารกแรกเกิดครบกำหนดที่เจ็บป่วยไม่รุนแรง ต้องการการดูแล รักษาที่ไม่ซับซ้อน เช่น -ตรวจและรักษาทารกที่มีตัวเหลืองด้วยphototherapy -การฉีดยา antibioticในทารกที่สงสัยว่ามี sepsis รพช.F1*ให้การช่วยเหลือเบื้องต้นและดูแลทารกแรกเกิดก่อนกำหนด อายุครรภ์ 35-37สัปดาห์ หรือน้ำหนัก > 2000 กรัมที่ปกติได้ *ให้การช่วยเหลือเบื้องต้นทารกที่ป่วยหนัก หรือทารกเกิดก่อนกำหนด อายุครรภ์ < 35 สัปดาห์และส่งต่อได้อย่างเหมาะสม *ให้การรักษาทารกป่วยที่มีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น -การทำpartial exchange transfusion -mild RDS:oxygen box,canula
รพช.F1*ดูแลทารกที่ถูกส่งกลับจากโรงพยาบาลในระดับที่สูงกว่าเพื่อให้รพช.F1*ดูแลทารกที่ถูกส่งกลับจากโรงพยาบาลในระดับที่สูงกว่าเพื่อให้ intermediate/chronic careเช่น -weaning oxygenในทารกchronic lung -feedingและrehabilitationในทารกที่มีmorbidity *ตรวจติดตามการเจริญเติบโตและพัฒนาการในทารกเกิดก่อนกำหนดที่มี น้ำหนักแรกเกิด>1500กรัม หรือไม่มีปัญหาซับซ้อนหลังออกจากร.พ *สามารถให้บริการกายภาพบำบัดและกระตุ้นพัฒนาการ รพ.แม่ข่ายM2 *มีหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด(NICU)อย่างน้อย2เตียงและสามารถ *ให้การดูแลทารกที่มีน้ำหนัก>1500กรัมที่ไม่ได้มีปัญหาซับซ้อน *ให้การดูแลทารกที่ป่วยหนักเช่นrespiratory failure ที่ใช้เครื่องช่วยหายใจหรือCPAP ได้ *สามารถทำหัตถการที่ซับซ้อนมากขึ้นเช่น total exchange transfusion
รพ.แม่ข่ายM2 *รับส่งต่อจากโรงพยาบาลในระดับที่สูงกว่าเพื่อให้การดูแลต่อ:รพ.แม่ข่ายM2 *รับส่งต่อจากโรงพยาบาลในระดับที่สูงกว่าเพื่อให้การดูแลต่อ: -ทารกที่น้ำหนักมากกว่า1500กรัมเพื่อรอเลี้ยงโต -ทารกหลังการผ่าตัดที่อาการคงที่ *ให้การดูแลระยะสุดท้ายเช่นsevere anomalyหรือ birth defect รพท.M1 *มี transport teamทำหน้าที่เตรียมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ รับ-ส่งต่อผู้ป่วยภายในเครือข่าย *สามารถให้การดูแลทารกแรกเกิดที่น้ำหนัก>1500กรัม *มีTPN(โดยการเตรียมเองหรือจัดหาจากรพ.แม่ข่าย) *สามารถตรวจหาความผิดปกติในทารกกลุ่มเสี่ยงได้เช่น -ROP -hearing screening -head U/S เพื่อประเมินภาวะ IVH,PVL
รพท.M1*ให้การดูแลเบื้องต้นทารกที่สงสัยว่ามีปัญหาโรคหัวใจรพท.M1*ให้การดูแลเบื้องต้นทารกที่สงสัยว่ามีปัญหาโรคหัวใจ และอยู่ในภาวะวิกฤติ *สามารถให้การรักษาทารกน้ำหนักตั้งแต่1000กรัมขึ้นไปได้ *สามารถให้การรักษาทารกที่มีsevere respiratory failure ด้วยยา และเครื่องช่วยหายใจชนิดความถี่สูงเช่น severe RDS, PPHN รพท.S *สามารถให้การวินิจฉัยเบื้องต้นทารกแรกเกิดที่สงสัยภาวะcongenital heart disease และให้การรักษาด้วย PGE1ได้ รพศ.A2 *สามารถให้การรักษาผู้ป่วยทารกที่มีปัญหาทางศัลยกรรมได้เช่น gut obstruction,abdominal wall defect *สามารถให้การรักษาทารกน้ำหนัก<1000กรัมได้ รพศA1 *สามารถรักษาPDA ligation,balloon septostomy,laser *เป็นแม่ข่ายจัดตั้งtransport network
ตัวชี้วัดและเป้าหมายตาม๓ประเด็นปัญหาตัวชี้วัดและเป้าหมายตาม๓ประเด็นปัญหา • 1.อัตราการคลอดก่อนกำหนด(GA<37wk) < ร้อยละ12 • 2.อัตราการคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม < ร้อยละ 10 • 3.อัตราการให้ antenatal steroid อย่างน้อย 2doseก่อนการคลอด(ในหญิง GA 24-34 สัปดาห์) > ร้อยละ 70 • 4.อัตราการตายของทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่า 28 วัน < ร้อยละ 8 • 5.อัตราการตรวจคัดกรองในทารกที่น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 1500 กรัม หรืออายุครรภ์ต่ำกว่า 32 สัปดาห์ : ROP,IVH,OAE • 6.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในทารกที่น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 1500 กรัมหรืออายุครรภ์ต่ำกว่า 32 สัปดาห์ แยกน้ำหนัก
ตัวชี้วัดและเป้าหมายตาม๓ประเด็นปัญหาตัวชี้วัดและเป้าหมายตาม๓ประเด็นปัญหา • 1.อัตราการเสียชีวิตทุกน้ำหนัก • 2.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างส่งต่อ • 3.อัตราการปฏิเสธการรับผู้ป่วยภายในเครือข่ายบริการ • 1.อุบัติการณ์การเกิดภาวะพร่องออกซิเจนในทารกแรกเกิด • 2.อัตราการตายจากภาวะพร่องออกซิเจนในทารกแรกเกิด