1 / 57

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์. ว 42102. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. โดยครูศรีไพร เคลือบสูงเนิน. ธรณีภาค. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง. อธิบายเกี่ยวกับธรณีภาค และบอกชื่อแผ่นธรณีภาคที่สำคัญได้. ธรณีภาค ( Lithosphere )

Download Presentation

วิทยาศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิทยาศาสตร์ ว 42102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร เคลือบสูงเนิน

  2. ธรณีภาค

  3. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายเกี่ยวกับธรณีภาค และบอกชื่อแผ่นธรณีภาคที่สำคัญได้

  4. ธรณีภาค (Lithosphere) เป็นส่วนของแข็งที่ห่อหุ้มอยู่รอบนอกสุดของโลก ประกอบด้วย ดิน แร่ หินต่าง ๆ มีความหนาประมาณ 45 กิโลเมตร ธรณีภาคนั้นมีความสำคัญที่สุดทางด้านธรณีวิทยาบนพื้นผิวโลก 

  5. ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (plate tectonic) ครูศรีไพรแตงอ่อน

  6. โลกของเรามีกระบวนการเปลี่ยนแปลงไม่เคยหยุดนิ่งจริงหรือ นักวิทยาศาสตร์และนักธรณีวิทยามีหลักฐานอะไรสนับสนุน

  7. ธรณีวิทยามีความสำคัญอย่างไร และมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงภูมิประเทศอย่างไร

  8. หลักฐานและข้อมูลที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์เชื่อในหลักฐานและข้อมูลที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์เชื่อใน ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค

  9. หลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยาหลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยา - การเปลี่ยนแปลงของธรณีภาค - การค้นพบซากดึกดำบรรพ์

  10. การเปลี่ยนแปลงของธรณีภาคการเปลี่ยนแปลงของธรณีภาค - รอยต่อของแผ่นธรณีภาค - รอยแยกของแผ่นธรณีภาคและ อายุหินบนเทือกเขากลาง มหาสมุทร

  11. การค้นพบซากดึกดำบรรพ์การค้นพบซากดึกดำบรรพ์ เฟิน “กลอสซอพเทอริส(Glossopteris)” (อินเดีย อเมริกาใต้ แอฟริกา ออสเตรเลีย และแอนตาร์กติกา)

  12. การค้นพบซากดึกดำบรรพ์การค้นพบซากดึกดำบรรพ์ “มีโซซอรัส(Mesosuarus)” สัตว์เลื้อยคลาน ดำรงชีวิตตามลุ่มน้ำจืด (พบในส่วนล่างของทวีปแอฟริกาและอเมริกาใต้ซึ่งติดทะเล)

  13. การเคลื่อนตัวของเปลือกโลกสามารถดูได้จากหลักฐานจากฟอสซิลการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกสามารถดูได้จากหลักฐานจากฟอสซิล ครูศรีไพรแตงอ่อน

  14. หลักฐานอื่น ๆ - หินที่เกิดจากตะกอนของธารน้ำแข็ง (พบทางชายฝั่งทะเลตอนใต้ ของแอฟริกาและอินเดีย) - สนามแม่เหล็กโบราณ(paleomagnetism)

  15. ทฤษฎีการเคลื่อนที่ ครูศรีไพรแตงอ่อน

  16. 1. ทฤษฎีทวีปเลื่อน(Continental Drift Theory) 2. ทฤษฎีวงจรการพาความร้อน (Convection Current Theory) 3. ทฤษฎีเปลือกโลกใต้มหาสมุทรแยกตัว (Sea Floor Spreading Theory) 4. ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (plate Tectonic Theory) ครูศรีไพรแตงอ่อน

  17. ขอบเขตและการกระจายตัวของแผ่นเปลือกโลกขอบเขตและการกระจายตัวของแผ่นเปลือกโลก ครูศรีไพรแตงอ่อน

  18. ครูศรีไพรแตงอ่อน

  19. ทฤษฎีทวีปเลื่อน ครูศรีไพรแตงอ่อน

  20. ทฤษฎีทวีปเลื่อน ครูศรีไพรแตงอ่อน

  21. ทฤษฎีทวีปเลื่อน ครูศรีไพรแตงอ่อน

  22. ทฤษฎีทวีปเลื่อน ครูศรีไพรแตงอ่อน

  23. ทฤษฎีทวีปเลื่อน ครูศรีไพรแตงอ่อน

  24. การเคลื่อนที่แยกจากกันการเคลื่อนที่แยกจากกัน • การไหลของความร้อนทำให้ชั้นธรณีแตกออกเกิดเป็นแนวแยกหุบเขา • หินเก่าจะถูกดันออกไปขณะที่เกิดหินใหม่จาการแทรกตัวของแมกมาตามรอยแยกเย็นตัวลง ครูศรีไพรแตงอ่อน

  25. การเคลื่อนที่แยกจากกันการเคลื่อนที่แยกจากกัน HEAT FLOW OLDER ROCK OLDER ROCK ครูศรีไพรแตงอ่อน

  26. การเคลื่อนที่แยกจากกันพร้อมการเคลื่อนที่ไถลตัวขนานการเคลื่อนที่แยกจากกันพร้อมการเคลื่อนที่ไถลตัวขนาน • รอยแยกหุบเขาอาจแตกเป็นช่วงเรียกว่า รอยแตกแบบเฉือน ครูศรีไพรแตงอ่อน

  27. การเคลื่อนที่แยกจากกันพร้อมการเคลื่อนที่ไถลตัวขนานการเคลื่อนที่แยกจากกันพร้อมการเคลื่อนที่ไถลตัวขนาน ครูศรีไพรแตงอ่อน

  28. แนวเทือกเขากลางสมุทร เกาะไอซ์แลนด์ ครูศรีไพรแตงอ่อน

  29. การเคลื่อนที่แบบเฉือนการเคลื่อนที่แบบเฉือน ครูศรีไพรแตงอ่อน

  30. ตัวอย่างบริเวณที่เกิดการเคลื่อนที่แบบเฉือนตัวอย่างบริเวณที่เกิดการเคลื่อนที่แบบเฉือน San Andreas Fault ครูศรีไพรแตงอ่อน

  31. ทิศตะวันตกของ แคลิฟอร์เนีย เรียกว่าSan Andreas Fault มักเกิดแผ่นดินไหวบ่อยครั้งเกิดจากแผ่นเปลือกโลกแปซิฟิกไถลกับแผ่นอเมริกาเหนืออัตราเฉลี่ยปีละ 5 เซนติเมตร บางพื้นที่อาจไม่มีการเคลื่อนไหวเป็นศตวรรษ ความดันอาจถูกสะสมซึ่งอาจทำให้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในอนาคต ครูศรีไพรแตงอ่อน

  32. การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทรการเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทร แผ่นทวีปเป็นหินแกรนิต มีความหนาแน่นน้อยกว่า แผ่นมหาสมุทร ซึ่งเป็นหินบะซอลต์แผ่นมหาสมุทรที่ หนาแน่นกว่าจะมุดลงใต้แผ่นทวีปเกิดเป็นร่องเหว มหาสมุทรtrenchอุณหภูมิและความดันที่สูงในชั้น ฐานธรณีทำให้แผ่นที่มุดลงมาหลอมละลาย ครูศรีไพรแตงอ่อน

  33. ตัวอย่าง เช่น - ร่องลึกบาดาลมาเรียนา เกิดจากการชนกันระหว่าง เปลือกโลกแผ่นยูเรเชียซึ่งเป็นแผ่นดิน กับเปลือกโลกแผ่นแปซิฟิก ซึ่งเป็นแผ่นมหาสมุทร ครูศรีไพรแตงอ่อน

  34. การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทรการเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทร แมกมาจะดันตัวสูงขึ้นสู่พื้นผิวและ หนีออกมาในรูปแบบของการเกิด ภูเขาไฟ การเกิดแนวเทือกเขาบนทวีป การประทุ ของภูเขาไฟแผ่นดินไหวจากการมุดตัว ของแผ่นเปลือกโลกมักเกิดรุนแรงกว่าใน การเคลื่อนที่แผ่นเปลือกโลกรูปแบบอื่น ครูศรีไพรแตงอ่อน

  35. การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทรการเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทร ยูเรเชีย ร่องลึกบาดาลญี่ปุ่น ตรงบริเวณสีแดง คือ ร่องลึกบาดาล แปซิฟิก ครูศรีไพร แตงอ่อน

  36. การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทรการเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นมหาสมุทร ครูศรีไพร แตงอ่อน

  37. การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นมหาสมุทรกับแผ่นมหาสมุทรการเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นมหาสมุทรกับแผ่นมหาสมุทร แผ่นที่มีอายุมากกว่าซึ่งมีความหนาแน่มากกว่า จะมุดลงใต้แผ่นที่มาอายุน้อยกว่าซึ่งมีความหนาแน่น ต่ำกว่า แผ่นที่มีอายุมากกว่ายิ่งเคลื่อนที่ไหลออกจาก แนวเทือกเขากลางสมุทร แนวเกาะรูปโค้งIsland arcs จะเกิดขึ้นใกล้ร่องเหวสมุทรที่มุดลงแล้วหลอมละลาย ดันตัวขึ้นสู่พื้นผิวในรูปแบบการประทุของภูเขาไฟ ครูศรีไพร แตงอ่อน

  38. การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นมหาสมุทรกับแผ่นมหาสมุทรการเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นมหาสมุทรกับแผ่นมหาสมุทร ครูศรีไพร แตงอ่อน

  39. การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นทวีปการเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นทวีป การเคลื่อนที่เข้าหากันมักทำให้เกิดการเชื่อมกันแล้วยกตัวขึ้นเป็นแนวเทือกเขา ครูศรีไพร แตงอ่อน

  40. แผ่นอินเดียชนกับแผ่นเอเชียแผ่นอินเดียชนกับแผ่นเอเชีย ทำให้เกิดเทือกเขาหิมาลัย ประเทศอินเดียถูกดัน ขึ้นไปทางทิศเหนือสู่ประเทศจีนด้วยอัตราเร็วปีละ 5 cm ประเทศอินเดีย ถูกเชื่อมกับทวีปยูเรเชีย ด้วยเทือกเขาและเกิด แผ่นดินไหวบ่อยๆ ครูศรีไพร แตงอ่อน

  41. การเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นทวีปการเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นทวีปกับแผ่นทวีป ครูศรีไพร แตงอ่อน

  42. ครูศรีไพร แตงอ่อน

  43. ลักษณะการเคลื่อนที่ ของแผ่นเปลือกโลก ครูศรีไพร แตงอ่อน

  44. แผ่นเปลือกโลกใต้เคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นเปลือกโลกใต้เคลื่อนที่เข้าหากัน ครูศรีไพร แตงอ่อน

  45. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เข้าหากันแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เข้าหากัน ครูศรีไพร แตงอ่อน

  46. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่แยกตัวออกจากกันแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่แยกตัวออกจากกัน และเข้าหากัน ครูศรีไพร แตงอ่อน

  47. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ไถลตัวขนานแยกออกจากกันแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ไถลตัวขนานแยกออกจากกัน ครูศรีไพร แตงอ่อน

More Related