240 likes | 385 Views
สานพลังรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประชาชน ดร . ชุณหพงศ์ ไทยอุปถัมภ์ ที่ปรึกษาปลัดกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร. ภาพรวมการนำเสนอ. 1. วัตถุประสงค์ ความเป็นมาของโครงการรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ ผลการดำเนินงานพัฒนาตามมติ 26 มีนาคม 2546 : 15 เป้าหมาย
E N D
สานพลังรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์สานพลังรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประชาชน ดร.ชุณหพงศ์ ไทยอุปถัมภ์ ที่ปรึกษาปลัดกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร
ภาพรวมการนำเสนอ 1. วัตถุประสงค์ • ความเป็นมาของโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • ผลการดำเนินงานพัฒนาตามมติ 26 มีนาคม 2546 : 15 เป้าหมาย 4. กลยุทธ์การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
1.วัตถุประสงค์ • ความคืบหน้าของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • นำเสนอกรอบการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-GovernmentFramework) • เป้าหมายและแผนปฏิบัติการของรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ในระยะ 3 ปี (2547-2549) • แผนการดำเนินงานในระยะ 90 วัน
2. ความเป็นมาของโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
2.1กรอบนโยบายของการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์2.1กรอบนโยบายของการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ นโยบายรัฐบาล แผนแม่บทไอซีที พ.ศ. 2545-2549 ยุทธศาสตร์ 7 การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและการให้บริการภาครัฐ (e-Gov) แผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับ ที่ 9 กรอบนโยบาย IT2010 ( 2544-2553) กลยุทธ : e-Government e-Commerce e-Industry e-Education e-Society • กลยุทธ์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • พัฒนาระบบบริหารและบริการภาครัฐ • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและมาตรฐานร่วม • การพัฒนาบุคลากร • ฯลฯ เป้าหมาย :ประชาชน ภาคธุรกิจ ภาครัฐ
2.2เป้าหมายหลักที่เกี่ยวข้องตามแผนแม่บทฯ2.2เป้าหมายหลักที่เกี่ยวข้องตามแผนแม่บทฯ ที่มา : NECTEC
3. ผลการดำเนินงานตาม15เป้าหมาย e-Government
3.1 สถานภาพ 15 Milestones ทุกส่วนราชการต้องมีเว็บไซต์ทุกส่วนราชการมีเว็บไซต์เรียบร้อยแล้ว ทุกส่วนราชการมีWeb-board ทุกส่วนราชการส่วนใหญ่มีเว็บบอร์ดแล้ว เปิดให้บริการE-Citizen Portal เปิดเว็บไซต์www.ecitizen.go.thแล้ว E-mail to ALL Govt. employees ผู้บริหารทุกส่วนราชการมีe-mailแล้ว ICT one-stop center เปิดให้บริการ single point service แล้ว อยู่ระหว่างบูรณาการให้บริการ Govt. Data Exchange (GDX) ได้รับงบประมาณปี 47 ดำเนินการพัฒนาเชื่อมโยงบูรณาการการขอเปิดธุรกิจอาหาร Govt. contact center (GCC) เปิดดำเนินการ 1 ม.ค. 47 โดยใช้หมายเลข 1111 อยู่ระหว่างเชื่อมระบบข้อมูล DOC/MOC/PMOC ได้นำเสนอ PMOC เมื่อ 24 ธ.ค. 2547 อยู่ระหว่างพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูล Citizen Smartcard อยู่ระหว่างกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างทำบัตร smartcard PKI/CA ได้รับงบกลางปี 47 อยู่ระหว่างคัดเลือกผู้ดำเนินการ CA เพื่อพัฒนาแจกจ่าย PKI Cyber Inspector ตั้งคณะทำงาน Cyber Inspector Team และทีมสารวัตรอินเตอร์เน็ตตรวจสอบ Back Office ได้ดำเนินการโครงการ GFMIS และระบบงานสารบรรณ จะแล้วเสร็จใน ต.ค. 47 E-Procurement ได้ดำเนินการ e-Auction และขยายไปส่วนภูมิภาคแล้ว อยู่ระหว่างพัฒนาให้เต็มรูปแบบ ปรับวัฒนธรรมขององค์กรปัจจัยความสำเร็จการพัฒนา ICT จะสามารถกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงองค์กร ทีมงานประสานงานCIO จัดตั้งสมาคมCIO แล้ว พร้อมกับมีกิจกรรมที่ให้บริการ
3.2ระดับการพัฒนาการให้บริการเว็บไซต์ของหน่วยงาน3.2ระดับการพัฒนาการให้บริการเว็บไซต์ของหน่วยงาน หน่วย : จำนวนหน่วยงาน ที่มา : NECTEC
3.3 สถานภาพการเชื่อมโยงการให้บริการปัจจุบัน ธุรกิจ รัฐบาล ประชาชน GOVT GOVT กระทรวง/กรม กระทรวง/กรม กระทรวง/กรม กระทรวง/กรม GOVT กระทรวง/กรม
DOC/MOC 3.4 สรุปภาพรวมการพัฒนา e-Government หน่วยงานส่วนใหญ่ยังอยู่ ณ ขั้นตอนนี้ การประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐ การให้บริการธุร- กรรมอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐ การให้บริการ ณ จุดเดียว“Single Point” เว็บไซต์ของหน่วยงาน • e-Revenue • e-payment • e-Auction
3.5 สภาพปัญหาในปัจจุบัน 1. ขาดกรอบการพัฒนา e-Government Framework ที่ชัดเจน 2. การพัฒนาเป็นลักษณะโครงการขาดความเชื่อมโยง ไม่ต่อเนื่อง (Piecemeal Approach) 3. แนวคิดและศักยภาพของแต่ละหน่วยงานมีความ แตกต่างกัน ทำให้ระดับการพัฒนาที่ผ่านมาไม่เท่ากัน รวมทั้งขาดทิศทางที่ประสานกันระหว่างหน่วยงาน (Department/Ministry Centric)
3.5 สภาพปัญหาในปัจจุบัน(ต่อ) 4. ขาดการบริหารจัดการที่ดีและประสบการณ์การ พัฒนาด้าน e-Gov & e-Service 5. ขาดการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบของ e-Government ที่ดี เช่น Common service,ระบบ Security ทำให้เกิดการซ้ำซ้อนการให้บริการ (Silo and Duplicate) 6. ขาดการกำกับดูแลและการให้บริการโครงสร้าง พื้นฐานร่วม (Common Infrastructure)
4. กลยุทธ์การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
4.1 Benchmark การพัฒนา e-Government ของไทย เป้าหมาย e-Government ของสิงคโปร์ (1มี.ค.2547)
4.2สานประสบการณ์การจัดทำแผนพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์4.2สานประสบการณ์การจัดทำแผนพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มของ E-Government ที่น่าสนใจ E-Gov ที่มีระดับการพัฒนาที่ดี Australia Singapore USA Sri Lanka Citizen Centric Malaysia • ด้วยโครงสร้างพื้ฯฐานที่ยืดยุ่นจะทำให้รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ปรากฏผลได้อย่างรวดเร็ว • ประสบการณ์ความสำเร็จ ของหลายๆรัฐบาลในภูมิภาค : • Malaysia electronic Government • Hong Kong e-Service Delivery Life • Australia e- Government Hong Kong • ความโดดเด่นของกรอบแผนรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และปรากฏเห็นเป็นรูปธรรม • กระตุ้นแนวความคิดและพัฒนาวิสัยทัศน์ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของไทยให้เป็นจริง Canada UK Government Centric Department Centric Industry Partnerships Program Management E-Government Solutions
4.3 สานความคิดการจัดทำแผนพัฒนา e-Government การดำเนินการที่ผ่านมาแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ริเริ่มเสนอแนะบริการ /จำแนก เป้าหมาย 15 ประการ(milestone) กำหนดแผนปฏิบัติการ คัดเลือกและจัดลำดับความสำคัญ • ระดมความคิดเห็น จากทุกกระทรวง • ผู้แทน CIO ของทุกกระทรวงร่วมกันคัดเลือกและจัดลำดับความสำคัญของบริการภาครัฐ • ทุกส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทำงานร่วมกันเพื่อจัดทำแผนพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
4.4ข้อคิดเห็นและเสนอแนะจากการประชุมจัดทำ แผนรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • กระทรวง ICT จัดทำมาตรฐาน และการจัดการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • จัดทำโครงสร้างพื้นฐานร่วม (Common Government Infrastructure) ในการให้บริการ (e-service) และ user log on กลาง • มีแผนการจัดการการให้บริการ e-Service ที่สำคัญในระดับยุทธศาสตร์ (Strategic e-Services)
ช่องทางให้บริการ 4.5 สานสร้างโครงสร้างเทคโนโลยีของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ Counter Applications ความปลอดภัย Kiosks Web iDTV Phone เงื่อนไขทางธุรกิจ การจัดการแบบฟอร์ม การจัดการข้อมูล การค้นหา เชื่อถือได้ การแลกเปลี่ยนข้อมูลภาครัฐ / โครงสร้างเว็บเซอร์วิสภาครัฐ ความพร้อมใช้งาน โปรแกรมการใช้งานที่มีอยู่แล้ว โปรแกรมการใช้งานร่วม AUCTION FINABCE HR MOJ MOC MOI MOF MOT SSO PKI ePayment Directories GIS Sec Emaol ปรับลดขนาดได้ วัดผลได้ ข้อมูล ตรวจสอบได้ โครงสร้างพื้นฐาน Platforms Storage Networks
4.6 สานสร้างการเข้าถึงบริการที่หลากหลาย นักธุรกิจ ประชาชน Internet พนักงานตอบรับ เว็บท่าประชาชน/ธุรกิจ Call Center ภาครัฐ เจ้าหน้าที่รัฐ เจ้าหน้าที่รัฐ
4.7 สานสร้างการบริการที่ครอบคลุมทุกระดับ Single Point Service : www.ecitizen.go.th • รับเงินบำนาญ • ท่องเที่ยว วัยชรา • ทำพินัยกรรม การให้บริการภาครัฐแบ่งตามช่วงอายุตั้งแต่ เกิด วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยชรา • สมัครงาน • ประกันสังคม • ซื้อบ้าน / โฉนดที่ดิน • ชำระค่าบริการ น้ำ ไฟฟ้า ประปา • เสียภาษี • ประกันสุขภาพ วัยทำงาน การให้บริการภาครัฐบา วัยทำงาน • จดทะเบียนบริษัท • บัตรประจำตัวประชาชน • ศึกษามัธยม /เอนทรานซ์ • ซื้อสินค้า • ท่องเที่ยว วัยรุ่น • เกณฑ์ทหาร • ใบขับขี่ วัยเด็ก • ตรวจสุขภาพ • สถานศึกษา อนุบาล • สถานเลี้ยงเด็ก • แจ้งที่อยู่ • ตั้งชื่อ • แจ้งเกิด โรงเรียน Hospital เกิด
4.8 ภาพลักษณ์ใหม่ของ “รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์” 4.5 ภาพลักษณ์ใหม่ของ “รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์” ศูนย์กลางเชื่อมโยงภาครัฐ ประชาชน Adaptive e-Gov Infrastructure ธุรกิจ Document manage &search ระบบ GIS Secure Messaging Citizen To Government PKI / CA Web Portal Business To Government GDX Government To Government กระทรวง/กรม กระทรวง/กรม Government To Employee
4.9ทิศทางของการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์4.9ทิศทางของการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • ประชาชนเข้าถึงทุกบริการ • ของภาครัฐ ณ จุดเดียว Citizen Centric • 2548 • ให้บริการร่วมกันโดยมี กระทรวง ICT เป็นศูนย์กลาง Government Centric 2547 & 2548 Department Centric • แต่ละหน่วยงานต่าง ให้บริการโดยอิสระ • 2546
4.10แผนพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์4.10แผนพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • แผนพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 3 ปี (2547-2549) ประกอบด้วย : • รูปแบบ e-Gov, Framework and Standards(technical and business enablers) สำหรับประเทศไทย • โครงสร้างพื้นฐานของ e-Government Infrastructure • แผนการดำเนินงาน e-Services • ประมาณการค่าใช้จ่ายในการลงทุน • แผนการดำเนินงานในระยะ 90 วันต่อไป