330 likes | 497 Views
การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. โดย นายดุสิต เขมะศักดิ์ชัย รองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ. 2 ธันวาคม 2553. หั วข้อการบรรยาย. ระบบงบประมาณในปัจจุบัน การบริหารงบประมาณ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงบประมาณ.
E N D
การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน โดย นายดุสิต เขมะศักดิ์ชัย รองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ 2 ธันวาคม 2553
หัวข้อการบรรยาย • ระบบงบประมาณในปัจจุบัน • การบริหารงบประมาณ • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงบประมาณ
ระบบงบประมาณในปัจจุบัน :ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์Strategic Performance based Budgeting : SPBB
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ Concept • ใช้งบประมาณเป็นตัวเชื่อมโยงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (Top-down Budgeting) • มุ่งเน้นผลงาน (output / outcome-oriented)
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ ให้กระทรวง ทบวง กรม มีบทบาท/ อำนาจตัดสินใจ ในการจัดสรรทรัพยากรมากขึ้น เป็นระบบควบคุม ตรวจสอบ ที่มีประสิทธิภาพ และ โปร่งใส
ใช้นโยบายเป็นตัวนำ (Policy Driven) มีการจัดลำดับความสำคัญของเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ การรักษาวินัยทางการคลัง เน้นการบริการประชาชน มีการคาดการณ์ล่วงหน้า คำนึงถึงการวัดผลสำเร็จในการดำเนินงาน หลักการของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ หลักการเชิงนโยบาย หลักการเชิงบริหาร • การมอบอำนาจการตัดสินใจ • ใช้หลักการธรรมาภิบาล (ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ) • ให้มีความคล่องตัวในการบริหาร • ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • มีการติดตามประเมินผลและมีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ประโยชน์ตามกลุ่มเป้าหมาย รัฐสภา รัฐบาล ส่วนราชการ ประชาชน • สามารถอนุมัติงบประมาณตามนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น • สามารถตรวจสอบรัฐบาลได้ตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ • สามารถตรวจสอบหน่วยปฏิบัติได้ตามเป้าหมายการให้บริการ • บริหารนโยบายได้ตามเป้าหมายที่สัญญากับประชาชนและที่แถลงต่อรัฐสภา • มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ • ใช้ทรัพยากรของประเทศอย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด • สามารถบริหารงานได้อย่างคล่องตัว และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนบรรลุ ผลสำเร็จตาม เป้าหมาย • ได้รับบริการและการแก้ไขปัญหาที่ดีขึ้น • มีคุณภาพชีวิตที่ดี • ได้รับข้อมูลข่าวสารครบถ้วน รวดเร็ว
โครงสร้างชั้นข้อมูล SPBB ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ระดับชาติ/รัฐบาล National/GovernmentStrategy Major Key Success Factors Key Success Factors แผนบริหารราชการ 4ปี เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Target) GFMIS Government Strategic Direction r แผนปฏิบัติราชการ 4ปี เป้าหมาย การให้บริการ (PSA/SDA) Key Performance Indicators แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนปฏิบัติราชการ 4ปี Output Performance (QQTC) BIS ผลผลิต (Output) การกำหนดทางเลือก ในการผลิตและการใช้ทรัพยากร แผนปฏิบัติราชการประจำปี ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ Ev MIS กระบวนการ จัดทำผลผลิต (Delivery Process) PART AMIS ทรัพยากร (Resources) Evaluation
ประมาณการรายได้ • กำหนดวงเงินโครงสร้าง งปม. • กำหนดยุทธศาสตร์จัดสรร • ทบทวนผลผลิต • ปรับปรุงฐานข้อมูล MTEF การวางแผนงบประมาณ การจัดทำงบประมาณ กระบวนการงบประมาณ • จัดทำแผน งปม. เชิงยุทธศาสตร์ • จัดทำ คำขอ งปม. • พิจารณาคำขอ งปม. • จัดทำร่าง พรบ. งบประมาณ • เสนอร่าง พรบ. งบประมาณ การประเมินผล • ก่อนการดำเนินงาน • ระหว่างการดำเนินงาน • หลังการดำเนินงาน การอนุมัติงบประมาณ การบริหารงบประมาณ • พิจารณาร่าง พรบ. งบประมาณ โดยฝ่ายนิติบัญญัติ • การตราพระราชบัญญัติ • จัดทำแผนปฏิบัติงาน • จัดทำแผนใช้จ่ายงบประมาณ • จัดสรรงบประมาณ กระบวนการงบประมาณภายใต้ระบบงบประมาณฯ 1 5 2 4 3
การบริหารงบประมาณBudget Execution
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 • ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 • ระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549
การบริหารงบประมาณ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี 1 3 ส่วนราชการ 2 รัฐมนตรี จัดทำและดำเนินการ • แผนปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ • จัดซื้อ/จัดจ้าง/ก่อหนี้ผูกพัน มอบหมาย/เห็นชอบ/กำกับ 6 ปรับกลยุทธ์ ตามสถานการณ์ 5 คณะรัฐมนตรี 7 ปรับแผนกลางปี • กำกับการดำเนินงาน • การใช้จ่ายและความสำเร็จ สำนักงบประมาณ 4 กรมบัญชีกลาง 4 • วิเคราะห์แผนและ • กำหนดกรอบจัดสรรให้ • สอดคล้องกับการใช้จ่าย • และระเบียบ • เห็นชอบ/กำกับ แผนการเบิกจ่าย งบประมาณ
การบริหารงบประมาณ กระบวนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ 1. การจัดทำแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 2. การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย 3. การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย 4. การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย 5. การรายงานผล
1. การจัดทำแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • เมื่อร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ผ่านการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร วาระที่ 1 ส่วนราชการเตรียมความพร้อมและวางแผนปฏิบัติงาน • เมื่อร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ผ่านการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร วาระที่ 3 ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ตามรายการและวงเงินที่ได้รับอนุมัติ และส่งให้สำนักงบประมาณก่อนวันเริ่มต้นปีไม่น้อยกว่า 15 วัน
2. การจัดสรรงบประมาณ • สงป. พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • สงป. จัดสรรงบประมาณให้ส่วนราชการใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันตามวัตถุประสงค์ และภายในระยะเวลาที่กำหนดตามวงเงินงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภา ตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี
3. การใช้จ่ายงบประมาณ การใช้จ่ายจากงบประมาณรายจ่าย “การเบิกจ่ายเงินจากคลัง” โดยเบิกจ่ายตามงบรายจ่าย
ประเภทงบรายจ่าย • งบบุคลากร • งบดำเนินงาน • งบลงทุน • งบเงินอุดหนุน • งบรายจ่ายอื่น
4. การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ในกรณีเกิดความจำเป็นตามสถานการณ์ ที่จะต้องเปลี่ยนแปลงเป้าหมาย กลยุทธ์ หรือประมาณการค่าใช้จ่ายที่แตกต่างไปจากที่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภา
การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ มี 2 กรณี 1. กรณีที่เป็นอำนาจ ส่วนราชการ 2. กรณีที่เป็นอำนาจ สำนักงบประมาณ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548
กรณีที่เป็นอำนาจส่วนราชการกรณีที่เป็นอำนาจส่วนราชการ ภายใต้แผนงานเดียวกัน • โอนเปลี่ยนแปลงข้ามผลผลิต แต่งบรายจ่ายเดียวกัน • โอนเปลี่ยนแปลงข้ามงบรายจ่าย ภายใต้ผลผลิตเดียวกัน • เปลี่ยนแปลงรายการ/จำนวนเงิน ภายใต้ผลผลิตเดียวกัน • โอนเปลี่ยนแปลงเพื่อจัดหาครุภัณฑ์ วงเงินต่อหน่วยต่ำกว่า 1 ลบ. • โอนเปลี่ยนแปลงเพื่อจัดหาสิ่งก่อสร้าง วงเงินต่อหน่วยต่ำกว่า 10 ลบ. • โอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณรายการครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง ที่ไม่อาจจัดหาได้ หรือนำเงินนอกงบประมาณไปสมทบ เพื่อเพิ่มวงเงินรายการครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้างนั้นได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของวงเงินที่ได้รับจัดสรร
ข้อยกเว้นการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณข้อยกเว้นการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ • ต้องไม่ก่อให้เกิดรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ • ต้องไม่เป็นการกำหนดอัตราข้าราชการใหม่ • ต้องไม่เป็นรายการค่าที่ดิน • ต้องไม่เป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวที่ไม่ได้กำหนดไว้ในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงบประมาณแล้ว
การโอนเปลี่ยนแปลงเงินเหลือจ่าย • การใช้เงินเหลือจ่ายมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่าย และปรับปรุงหรือพัฒนาองค์กร • เป็นเงินเหลือจ่ายจากการดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายแล้ว จัดซื้อจัดจ้างแล้ว หัวหน้าส่วนราชการนำไปใช้จ่ายได้ ภายใต้แผนงานเดียวกัน
ข้อยกเว้นการโอนเปลี่ยนแปลงเงินเหลือจ่ายข้อยกเว้นการโอนเปลี่ยนแปลงเงินเหลือจ่าย • ต้องไม่เป็นรายการค่าที่ดิน • ต้องไม่เป็นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ • ต้องไม่มีหนี้ค่าสาธารณูปโภคค้างชำระเมื่อสิ้นปีงบประมาณ • ต้องไม่มีค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต้องจ่ายตามข้อผูกพันสัญญาค้างชำระ เช่น ค่างานตามสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K)
กรณีที่เป็นอำนาจสำนักงบประมาณกรณีที่เป็นอำนาจสำนักงบประมาณ • เริ่มผลผลิต/โครงการใหม่ (ครม.อนุมัติ) • เพิ่มเงินราชการลับ (ครม.อนุมัติ) • โอนเปลี่ยนแปลงข้ามแผนงานในภารกิจที่ไม่ได้กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติงาน
การขอขยายระยะเวลาการเบิกจ่ายการขอขยายระยะเวลาการเบิกจ่าย • กรณีที่ส่วนราชการไม่สามารถก่อหนี้ได้ทัน ภายในปีงบประมาณ หรือจำเป็นต้องกันเงินไว้เบิกจ่ายเหลื่อมปี • ให้ทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง • กรณีที่ต้องขอขยายระยะเวลาการเบิกจ่ายเกินกว่าที่กระทรวงการคลังกำหนด ต้องเสนอให้ ครม. อนุมัติ
การขออนุมัติใช้งบกลาง (Central Fund)รายการ เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ต่ำกว่า 10 ลบ. ผอ.สงป. อนุมัติ นรม.เห็นชอบ หรือ นรม.เสนอ ครม. อนุมัติหลักการ มากกว่า 10 ลบ. มากกว่า 100 ลบ. ครม.อนุมัติ
งบประมาณผูกพันข้ามปีงบประมาณงบประมาณผูกพันข้ามปีงบประมาณ • มีระยะเวลาการใช้จ่ายเงินเกิน 1 ปีงบประมาณ • ต้องเสนอให้ ครม. อนุมัติรายการและวงเงินก่อนการก่อหนี้ผูกพัน
การเปลี่ยนแปลงรายการผูกพันข้ามปีงบประมาณการเปลี่ยนแปลงรายการผูกพันข้ามปีงบประมาณ เปลี่ยนแปลงวงเงิน เสนอ ครม. อนุมัติ เปลี่ยนแปลงวงเงิน และขยายระยะเวลา การขยายระยะเวลา โดยไม่เปลี่ยนแปลงวงเงิน เสนอ รมต. ให้ความเห็นชอบ
5. การรายงานผล • รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตามตัวชี้วัดผลสำเร็จ • ระบุปัญหาอุปสรรค และเสนอแนวทางแก้ไข • ส่ง สงป. ภายใน 60 วัน นับตั้งแต่วันสิ้นปีงบประมาณ
งบประมาณสมดุล คือ การจัดทำงบประมาณในลักษณะที่มีการกำหนดให้รายได้เท่ากับรายจ่าย
การมุ่งสู่งบประมาณสมดุล ต้องดำเนินการใน 3 ประเด็น • เพิ่มประสิทธิภาพในการหารายได้ • ลดรายจ่ายประจำในรายการสำคัญ เช่น • มาตรการใหม่ในการรักษาพยาบาลข้าราชการและลูกจ้าง • เงินสมทบในกองทุนต่างๆ จะมีการ ShareCostหรือออมล่วงหน้าจากผู้ได้รับประโยชน์ • จัดสรรงบประมาณรายจ่ายที่ส่งผลโดยตรงให้ประเทศสามารถเพิ่มรายได้ในอนาคต
สำนักงบประมาณ www.bb.go.th ขอขอบคุณ