1 / 32

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การ เลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การ เลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน. งานด้านเอกสาร รายงาน หรือสำนักงาน งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่ อ มัลติมีเดีย เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก. คอมพิวเตอร์สามารถจำแนกตามการใช้งาน.

alessa
Download Presentation

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การ เลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3การเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

  2. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน งานด้านเอกสาร รายงาน หรือสำนักงาน งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่อมัลติมีเดีย เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก

  3. คอมพิวเตอร์สามารถจำแนกตามการใช้งานคอมพิวเตอร์สามารถจำแนกตามการใช้งาน • คอมพิวเตอร์สามารถจำแนกตามการใช้งาน - งานด้านเอกสาร รายงาน หรือสำนักงาน - งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่อมัลติมีเดีย - เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก

  4. งานด้านเอกสาร รายงาน หรือสำนักงาน โปรแกรมที่ใช้งานส่วนใหญ่จะเป็นโปรแกรม Microsoft Office ไม่ต้องการคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงมากนัก

  5. งานด้านกราฟิก ออกแบบสิ่งพิมพ์ และสื่อมัลติมีเดีย โปรแกรมที่ใช้งานส่วนใหญ่มักจะต้องการทรัพยากรของเครื่องสูง เช่น โปรแกรม Photoshop, Illustrator, โปรแกรมในการตัดต่อวิดีโอ คอมพิวเตอร์จึงจำเป็นต้องมีคุณสมบัติสูง เน้นเรื่องความเร็ว CPU ความจุฮาร์ดดิสก์ การ์ดจอ

  6. เล่นเกมคอมพิวเตอร์ และบันเทิงเป็นหลัก ในปัจจุบัน เกมคอมพิวเตอร์มีความต้องการทรัพยากรของเครื่องสูง ตั้งแต่ CPU, RAM และที่สำคัญที่สุด คือ การ์ดจอ จึงต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงสำหรับรองรับเกมใหม่ๆ

  7. การรับประกันสินค้า ในการเลือกใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ นั้นขึ้นอยู่กับความต้องการที่จะนำไปใช้แต่ละงานตามความจำเป็นของแต่ละบุคคล สิ่งสำคัญที่ควรจะต้องคำนึงถึงอยู่เสมอในการเลือกคอมพิวเตอร์ คือ ต้องตรวจดูสภาพของอุปกรณ์ การรับประกัน ไดร์เวอร์ และคู่มือการใช้งาน การรับประกันเป็นสิ่งสำคัญมากในการเลือกอุปกรณ์ ในสมัยก่อนผู้ซื้อจะได้รับเอกสารการรับประกันของผู้ผลิต แต่ในปัจจุบันจะมีสติ๊กเกอร์รับประกัน (Warranty Sticker) ติดอยู่ที่อุปกรณ์นั้น ๆ เพื่อยืนยันว่าซื้ออุปกรณ์มาจากร้านไหน เมื่อไร และมีระยะเวลาประกันนานเพียงใด ทำให้เกิดความสะดวกทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย

  8. การรับประกันสินค้า • ระยะเวลาในการรับประกันสินค้า ระยะเวลารับประกันมักจะถูกกำหนดโดยผู้นำเข้าหรือผู้ผลิตสินค้าอยู่แล้ว โดยปกติการรับประกันของอุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีระยะเวลาไม่เท่ากัน ทำให้เวลาเลือกคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะแบบประกอบเองจึงต้องสนใจในเรื่องของการรับประกันเป็นสำคัญ

  9. การรับประกันสินค้า • ระยะเวลาในการรับประกันสินค้า

  10. การรับประกันสินค้า • สติ๊กเกอร์รับประกัน (Warranty Sticker)มี 2 รูปแบบ คือ - สติ๊กเกอร์รับประกันที่กำหนดเวลาเริ่มต้นในการรับประกัน ทางผู้รับประกันจะเขียนเดือนและปีที่ซื้อสินค้าลงไปบนสติ๊กเกอร์ โดยรูปแบบนี้เป็นที่นิยมมาก เพราะง่ายในการเขียนบันทึก เพราะอุปกรณ์แต่ละชิ้นมีระยะเวลาในการรับประกันไม่เท่ากัน

  11. การรับประกันสินค้า • สติ๊กเกอร์รับประกัน (Warranty Sticker)มี 2 รูปแบบ คือ - สติ๊กเกอร์รับประกันที่กำหนดเวลาสิ้นสุดในการรับประกัน ทางผู้รับประกันจะเขียนเดือนและปีที่สินค้าหมดอายุการรับประกันลงไปบนสติ๊กเกอร์ โดยรูปแบบนี้จะทำให้รู้ได้แน่นอนว่าอุปกรณ์นี้จะหมดรับประกันเมื่อใด

  12. การเลือกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การเลือกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การเลือกหน่วยประมวลผลกลาง การเลือกเมนบอร์ด การเลือกหน่วยความจำแรม การเลือกฮาร์ดดิสก์ การเลือกกราฟิกการ์ด การเลือกจอภาพ

  13. การเลือก CPU ความเร็ว ใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวกำหนด (การที่CPUทำงาน1ครั้ง/วินาที) หน่วยความจำแคช (Cache) แคชมีหน้าที่จัดเก็บคำสั่งและข้อมูลที่ส่งไปยังCPU บัสข้อมูล (Data bus)มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz) ผู้ผลิตCPUผู้ผลิตรายสำคัญ คือ Intel และ AMD

  14. ความแตกต่างของส่วนต่างๆ ใน CPU Intel

  15. ความแตกต่างของส่วนต่างๆ ใน CPU AMD

  16. การเลือกเมนบอร์ด การเลือกเมนบอร์ดขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ต้องการใช้งานเป็นหลัก อุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ดที่ต้องพิจารณา Processer (CPU) RAMแบ่งเป็น SDRAM,DDR SDRAM,RDRAM, DDR2 และ DDR3 Chipsetมีหน้าที่สนับสนุนและบริหารจัดการภายในระบบการทำงานของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ แบ่งการรองรับเป็น 2 ส่วน คือNorthBridgeและ SouthBridge AGP และ PCI Expressตัวประมวลผลผ่านทางจอภาพ เช่น NVIDIA, Intel, VIA, ATI

  17. อุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ดที่ต้องพิจารณา(ต่อ)อุปกรณ์สำคัญที่ทำงานร่วมกับเมนบอร์ดที่ต้องพิจารณา(ต่อ) 5. Sound Onboard 6. ระบบเครือข่าย (LAN) ระบบเครือข่ายมาตรฐานความเร็วที่ 10/100Mbps แต่เมนบอร์ดประสิทธิภาพสูงรองรับความเร็วระดับ1,000Gbps อาจมาในรูปแบบ Wireless LAN 7. Connector & Port แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ Internalเช่น USB Back Panel เช่น PS/2, Parallel, Serial Port, Audio, LAN, VGA พอร์ตเหล่านี้มีไว้ใช้สำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก

  18. การเลือกหน่วยความจำแรม RAM การเลือก RAM ต้องพิจารณาดังนี้ Main board ที่ใช้อยู่ RAM แบ่งเป็น 3 รูปแบบ - DDR ใช้กับ Chipset รุ่นเก่า - DDR2 ใช้กับ Chipsetรุ่นปัจจุบัน ราคาไม่แพง - DDR3 รองรับกับ Intel X4 และ AMD 790i ราคาแพง 2. ความจุและขนาดที่ต้องการ 3. เลือกระหว่าง…… “แบบSingleความจุแถวเดียว VS แบบDualความจุเท่ากัน2แถว” * แบบDual ช่วมเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 20%

  19. การเลือกฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ที่นิยมใช้กันทั่วไป.... 1. แบบ IDE เป็นอินเตอร์เฟซรุ่นเก่า เชื่อมด้วยสาย 80 แพเส้น ความเร็วอยู่ที่ 8.3 เมกะไบต์/วินาที 2. แบบ Serial ATAเป็นอินเตอร์เฟซที่นิยมมากที่สุด ความเร็วอยู่ที่ 150 เมกะไบต์/วินาที 3. ความจุ Hard Disk 4. ความเร็วรอบความเร็วรอบของจานหมุน 5. หน่วยความจำ Cache/Buffer ที่ทำงานร่วมกัน

  20. การเลือกกราฟิกการ์ด (Graphic Card) เลือกตามลักษณะการใช้งาน สำหรับงานทั่วไป : เลือกแบบ On board สำหรับงานด้านกราฟฟิก : เลือกแบบที่มีหน่วยความจำในการประมวลผลค่อนข้างสูง สำหรับใช้เล่นเกม: เลือกตามงบประมาณที่มี สำหรับใช้งานด้านความบันเทิง : เลือกแบบที่มีพอร์ตทั้งแบบ D-Sub, DVI, S-Video และ ViVo สำงานด้าน PC Server : เลือกแบบ On board แต่เพิ่มในส่วน Hard Disk และ RAM

  21. การเลือกกราฟิกการ์ด (Graphic Card) ต่อ 6. VGA On board ต้องเลือกซื้อ Main board ที่มี Slot AGP มาให้ด้วย เพื่อที่จะสามารถอัพเกรดได้ สำหหรับผู้ที่มีงบประมาณมาก ควรซื้อ VGA Cardต่างหาก 7. AGP พอร์ตที่ถูกพัฒนาขึ้นมาให้ใช้งานร่วมกับ VGA Card เพื่อเพิ่มอัตราความเร็วในการ รับ-ส่งข้อมูล) 8. ระบบระบายความร้อน 9. RAM ที่อยู่บน VGA Card

  22. การเลือกจอภาพ (Monitor) จอภาพแบบ LCD Monitor แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ STN : Super-Twisted Nematic ให้ความคมชัดและแสงสว่างไม่มาก นิยมใช้สำหรับโทรศัพท์มือถือ เกมพกพา 2. TET : Thin Film Transistor นิยมใช้ในจอภาพของ Notebook และจอภาพของcomputerให้ความคมชัดและแสงสว่างกว่าแบบแรก

  23. การเลือกจอภาพ (Monitor) ต่อ

  24. การเลือกจอภาพ (Monitor) ต่อ 2. ความละเอียดของจอภาพแบบ LCD Monitor 3. Dot Pitch คือ ค่าระยะห่างของจุดภาพ (ยิ่งค่าน้อย...ความละเอียดและความคมชัดของภาพยิ่งมาก) 4. จำนวนเม็ดสี (Bit Depth) คือ ค่าตัวเลขที่บอกการแสดงจำนวนเม็ดสี ที่จอภาพ (ยิ่งค่ามาก...สีที่แสดงออกมาก็จะมาก)

  25. การเลือกจอภาพ (Monitor) ต่อ 5. ค่า Viewing Angle คือ ค่าของมุมในการแสดงภาพ มีเฉพาะในจอภาพแบบ LCD Monitor เท่านั้น (ยิ่งค่ามาก...มุมมองที่สามารถจะแสดงภาพแล้วพร้ามัวยิ่งน้อย)

  26. การเลือกจอภาพ (Monitor) ต่อ 6. Response Time ความเร็วในการตอบสนอง วัดจากช่วงระยะเวลาของที่ภาพจะแสดงได้ 7. ช่องต่อแบบ Analog และแบบ Digital

  27. การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์การดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ พัดลมระบายอากาศ และชุดจ่ายไฟฟ้ามีการทำงานที่ปกติอยู่เสมอ การดูแลรักษาซีพียู 1. ระมัดระวังอย่าสร้างความเสียหายให้เกิดขึ้นกับบอดี้ของมัน 2. การทำความสะอาดฝุ่นผงที่ติดอยู่ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มือหรืออุปกรณ์ทำความสะอาดทุกชนิดสัมผัสโดยตรง 3. ถ้ามีฝุ่นจับหนาแน่นแนะนำให้ใช้พัดลมเป่าลมใส่ตามซอกน้อยและบนแผงวงจรให้สะอาด

  28. การดูแลรักษาเมนบอร์ด 1. การถอดอุปกรณ์เมนบอร์ดออกจากเครื่องควรพยายามถอดออกอย่างระมัดระวัง 2. ควรทำการปัดฝุ่นให้สะอาด ระวังอย่าให้เมนบอร์ดโดนน้ำหรือตกหล่น เพราะอาจเกิดการชำรุด หรือหลุดหายทำให้เมนบอร์ดใช้งานไม่ได้อีกเลย 3. เมื่อประกอบเข้าเครื่อง ตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ ให้ครบแล้วประกอบเข้าเครื่อง เมื่อเรารู้สึกว่าเกิดขัดข้องบนอุปกรณ์เมนบอร์ดขึ้นก็พยายามตรวจสอบและดูแลรักษา

  29. การดูแลรักษาจอภาพ 1. หลีกเลี่ยงการติดตั้งไว้ใกล้กับบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก 2. ห้ามเอานิ้วหรือวัสดุใดๆไปจิ้มที่หน้าจอเด็ดขาด 3. อย่าใช้น้ำยาหรือสารอื่นใดที่ไม่ได้มีไว้สำหรับเช็ดหน้าจอมาเช็ดเด็ดขาด 4. ใช้ผ้าไมโครไฟเบอร์ หรือผ้าชามัวร์ มาเช็คทำความสะอาดและการเช็ดจอนั้นก็ควรปิดหน้าจอก่อนทุกครั้ง

  30. การดูแลรักษาการ์ดแสดงผลการดูแลรักษาการ์ดแสดงผล ถอดแรมหรือว่าการ์ดแสดงผลออกมา แล้วหายางลบมาถู ตรงบริเวณหน้าสัมผัสที่เป็นสีทองเพื่อเป็นการลบเอาคราบฝุ่นต่างๆออก นอกเหนือจากนั้นก็นำแปลงมาปัดฝุ่นตามแรมหรือว่าการ์ดแสดงผลออกไป ชุดระบายความร้อนของการ์ดแสดงผล ใช้เครื่องเป่าลมเปาออกหรือใช้สำลีเช็ดฝุ่นที่เกาะอยู่ ไม่จำเป็นที่จะต้องถอดออกจากตัวการ์ด

  31. การดูแลรักษาเมาส์ 1. นำเอาฝาที่ครอบลูกกลิ้งออก   โดยการหมุนตามลูกศรที่ระบุไว้  นำผ้ามาเช็ดที่ลูกกลิ่งและด้านในให้สะอาดถ้าใช้แอลกฮอล์ได้ยิ่งดี 2. ส่วนบริเวณอื่นๆ  นั้นให้ใช้สำลีชุบแอลกฮอล์มาเช็ดทำความสะอาด 3. กรณีที่วัสดุของเมาส์ที่เป็นหนัง  ก็ใช้ผ้าซุบหมาดๆเช็ดก็พอ 4. บริเวณตรงบริเวณที่ส่องแสงเพื่อใช้จับตำแหน่งเมาส์นั้นให้ใช้สำลีก้านแห้งๆ  ไม่ควรที่จะซุบน้ำ  แอลกฮอล์หรือสารเคมีใดๆ ทั้งสิ้น

More Related