1.03k likes | 1.31k Views
ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ. Classical Theory and The Keynesian Revolution. Classical Theory. Classical Economist : Adam Smith ก่อน ค.ศ 1930 นักเศรษฐศาสตร์สนใจวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจในเชิงจุลภาคเป็นหลัก โดยเฉพาะทฤษฎีการกำหนดราคาและปริมาณสินค้าเฉพาะอย่าง ( individual products )
E N D
ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ
Classical Theory • Classical Economist : Adam Smith • ก่อน ค.ศ 1930 นักเศรษฐศาสตร์สนใจวิเคราะห์ปัญหาเศรษฐกิจในเชิงจุลภาคเป็นหลัก โดยเฉพาะทฤษฎีการกำหนดราคาและปริมาณสินค้าเฉพาะอย่าง (individual products) • เพราะเชื่อว่า “เศรษฐกิจอาจมีการว่างงานได้ชั่วคราว แต่ในที่สุดเศรษฐกิจก็จะกลับสู่ภาวะมีการจ้างงานเต็มที่ได้เองในที่สุด” • Say’s Law“Supply creates its own Demand”
Keynesian School of Economics • Keynesian Economics: John Maynard Keynes -ในช่วงปี ค.ศ. 1930 เกิดปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำครั้งรุนแรงที่สุด - เศรษฐกิจไม่สามารถปรับตัวได้เองตามที่เชื่อกันในสมัยนั้น - เคนส์ได้เขียนตำรา ชื่อ “The General Theory of Employment, Interest and Money” และได้เสนอแนวคิดว่า “อัตราการว่างงานและผลผลิตของชาติอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงได้เสมอตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งนี้ก็เพราะระดับรายได้ประชาชาติกับระดับการจ้างงานนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด”
จึงได้เสนอทฤษฎีเศรษฐศสาตร์ใหม่ สรุปได้ว่า “ภาวการณ์ว่างงานเป็นปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา และไม่อาจปรับตัวเข้าหาดุลยภาพได้ด้วยตัวเอง” • J.M. Keynes“Demand creates its own Supply” • เคนส์จึงได้สร้าง“ทฤษฎีการกำหนดรายได้ประชาชาติ”ขึ้นทฤษฎีนี้อธิบายได้ว่า“ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม จะเป็นตัวกำหนดรายได้ประชาชาติ”
Desired Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M) หรือ Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) (DAE) (AD) ทั้งนี้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวม ไม่จำเป็นจะต้องเท่ากับรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงในระบบเศรษฐกิจ AD / DAE < , > , = AS / NI
องค์ประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (DAE) 1. รายจ่ายเพื่อการบริโภค (C) และการออม (S) 2. รายจ่ายเพื่อการลงทุน (I) 3. รายจ่ายของภาครัฐบาล (G) 4. การส่งออกสุทฺธิ (X-M)
รายจ่ายเพื่อการบริโภคและการออม Consumption Expenditure [C]and Saving [S]
รายได้ C รายได้ C S ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • รายได้สุทธิส่วนบุคคลหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง(Disposable Income) S
ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออมปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • ขนาดของสินทรัพย์สภาพคล่องสินทรัพย์สภาพคล่องคือสิ่งที่เราถือว่าเป็นเงิน(Money)ได้แก่เงินสดเงินฝากกระแสรายวันเงินฝากประจำพันธบัตรทองคำหุ้นและที่ดินซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้สามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้รวดเร็วและไม่เสียค่าใช้จ่ายมากนัก
นาย ก. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน มีเงินฝากประจำ 1,000,000 บาท นาย ข. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน มีที่ดินมูลค่า 1,000,000 บาท > C ก C ข
สินค้าคงทน C สินค้าคงทน ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 3. สินค้าคงทนที่ผู้บริโภคมีอยู่ S S C
รายได้ในอนาคต C รายได้ในอนาคต ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • การคาดการณ์ของผู้บริโภค ได้แก่ รายได้ในอนาคต S S C
ราคาในอนาคต C ราคาในอนาคต ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 4. การคาดการณ์ของผู้บริโภค ได้แก่ ราคาสินค้าในอนาคต S S C
เงินดาวน์ /ดอกเบี้ยเงินกู้ C เงินดาวน์ /ดอกเบี้ยเงินกู้ ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม • สินเชื่อเพื่อการบริโภคและอัตราดอกเบี้ย (เงินดาวน์และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้) S C S
ดอกเบี้ยเงินฝาก C ดอกเบี้ยเงินฝาก ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 5. อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก S S C
C ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 6. ค่านิยมทางสังคม ค่านิยมฟุ่มเฟือย S ค่านิยมประหยัด S C
C ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 7. อัตราการเพิ่มของประชากรและโครงสร้างอายุของประชากร อัตราประชากร S อัตราประชากร S C
C ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคและการออม 7. อัตราการเพิ่มของประชากรและโครงสร้างอายุของประชากร ประชากรในวัยทำงาน S ประชากรในวัยทำงาน S C
ฟังก์ชั่นการบริโภค C = f(Yd, A1, A2, A3, …ฯลฯ ) เมื่อ Cคือรายจ่ายเพื่อการบริโภค Ydคือรายได้สุทธิหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง(DI) A1, A2, A3,…ฯลฯคือปัจจัยอื่นๆ ฟังก์ชั่นการบริโภคของบุคคล
ในระยะสั้น Consumption Functionคือ C = f (Yd) ฟังก์ชั่นการบริโภคในระยะสั้นของบุคคล Consumption Function จาก C = f(Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ)
ระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคลและระดับการใช้จ่ายบริโภคระดับรายได้สุทธิส่วนบุคคลและระดับการใช้จ่ายบริโภค
สมการการบริโภคของบุคคลสมการการบริโภคของบุคคล C = a + b Yd โดยที่ a คือ การบริโภคเมื่อรายได้เป็นศูนย์ b คือ ค่าความชันของการบริโภค Yd คือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้
การบริโภค (C) C = a + b Yd a รายได้ (Yd) 0
C Yd ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการบริโภค(Average Propensity to Consume : APC) • อัตราส่วนของค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคต่อรายได้ • ค่าที่แสดงว่ารายจ่ายในการบริโภคคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ APC =
พฤติกรรมการใช้จ่ายของบุคคล มี 3 แบบ • บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคเกินกว่า รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น • (C > Yd) • 2. บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคเท่ากับ รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น • (C = Yd) • 3. บุคคลจะใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภคน้อยกว่า รายได้ที่ได้รับในงวดที่มีการใช้จ่ายนั้น • (C < Yd)
C = a + bYd C C B A C3 = 475 C2 = 400 a C1= 325 Yd 0 y1=300 Y1 Y2 Y3 y2 = 400 y3 = 500
APC A C = 325 Y 300 = 1.08 C Yd ; APC1 APC B C = 400 Y 400 C = Yd ; APC = 1 = 1.00 APC c C Yd ; APC 1 C = 475 Y 500 = 0.95
C Yd ; APC1 C = Yd ; APC = 1 C Yd ; APC 1 ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เมื่อรายได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ค่า APC จะมี ค่าลดลงเรื่อย ๆ ด้วย
C Yd ความโน้มเอียงส่วนเพิ่มในการบริโภค(Marginal Propensity to Consume : MPC) • อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงรายจ่ายในการบริโภคต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ C2 - C1 Yd2 - Yd1 MPC = =
เมื่อ Ydเพิ่มขึ้น Cจะเพิ่มขึ้น แต่ Cจะเพิ่มขึ้นน้อยกว่าYdที่เพิ่มขึ้น MPC > 0 MPC < 1 จากทฤษฎีของ Keynes กล่าวไว้ว่า เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPC < 1
C = a + bYd C C B A C3 = 475 C2 = 400 a C1= 325 Yd 0 y1=300 Y1 Y2 Y3 y2 = 400 y3 = 500
MPC (A - B) C = C2 – C1 = 400 - 325 Y Yd1 – Yd2 400 - 300 = 75 100 = 0.75 เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPC < 1
ฟังก์ชั่นการออม S = f(Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ ) เมื่อ Sคือ การออม Ydคือรายได้สุทธิหรือรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง(DI) A1, A2, A3,..ฯลฯ คือปัจจัยอื่นๆ ฟังก์ชั่นการออมของบุคคล
ในระยะสั้น Saving Function คือ S = f (Yd) ฟังก์ชั่นการออมในระยะสั้นของบุคคล Saving Function จาก s = f(Yd, A1, A2, A3, … ฯลฯ)
จาก Yd = C + S ฟังก์ชันการออม S = f (Yd) ดังนั้นเงินออม คือ รายได้สุทธิส่วนที่เหลือจากการใช้จ่าย ก็จะได้ S = Yd – C และจากสมการการบริโภค C = a + bYd แทนค่าสมการ S = Yd – a – bYd ดังนั้นจะได้สมการการออม คือ S = – a + (1-b) Yd
สมการการออมของบุคคล S = -a+ (1-b) Yd โดยที่ -a คือ การออมเมื่อรายได้เป็นศูนย์ 1-b คือ ค่าความชันของการออม Yd คือ รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง (DI)
การออม (S) S = -a+ (1-b)Yd saving 0 รายได้ (Yd) Dissaving -a
S Yd ความโน้มเอียงเฉลี่ยในการออม(Average Propensity to Save : APS) • อัตราส่วนของการออมต่อรายได้ • ค่าที่แสดงว่าการออมคิดเป็นสัดส่วนเท่าใดของรายได้ APS =
การออม (S) S = -a+ (1-b)Yd C s3 = 25 B A รายได้ (Yd) 0 Y1=300 Y2=400 Y3=500 s1 = -25 s2 = 0 -a
APS A S = -25 Yd 300 = - 0.08 S 0 ; APS 0 หรือมีค่าติดลบ APS B S = 0 Yd 400 S = 0; APS = 0 หรือมีค่าเท่ากับ 0 = 0 APS c S 0 ; APS 0 หรือมีค่าเป็นบวก S = 25 Yd 500 = 0.05
S 0 ; APS 0 หรือมีค่าติดลบ S = 0 ; APS = 0 S 0 ; APS 0หรือมีค่าเป็นบวก ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เมื่อรายได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ค่า APS จะมี ค่าเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เช่นเดียวกัน
S Yd ความโน้มเอียงในการออมหน่วยสุดท้าย(Marginal Propensity to Save : MPS) • อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงของการออมต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ S2 - S1 Yd2 - Yd1 MPS = =
เมื่อ Ydเพิ่มขึ้น Sจะเพิ่มขึ้น แต่ Sจะเพิ่มขึ้นน้อยกว่าYdที่เพิ่มขึ้น MPS > 0 MPS < 1 ตามหลักของ Keynes ที่กล่าวว่า เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPS < 1
การออม (S) S = -a+ (1-b)Yd C s3 = 25 B A รายได้ (Yd) 0 Y1=300 Y2=400 Y3=500 s1 = -25 s1 = 0 -a
MPS (A – B) S = C2 – C1 = 0 – (-25) Yd Yd1 – Yd2 400 - 300 = 25 100 = 0.25 เพราะฉะนั้นจะได้ 0 < MPS < 1
Yd = 500 APC = 0.95 , APS = 0.05 ณ รายได้ 500 บาท โดยเฉลี่ยแล้ว เงิน 1 บาท จะนำไปบริโภค 0.95 บาท และนำไปออม 0.05 บาท Yd = C + S ถ้า Yd = 1 Yd = C + S Yd Yd Yd 1 = + APS APC ความสัมพันธ์ระหว่าง APC และ APS
MPC = 0.75 , MPS = 0.25 ถ้ามีรายได้เพิ่มขึ้น 1 บาท จะใช้จ่ายเพื่อการบริโภคเพิ่มขึ้น 0.75 บาท และนำไปออมเพิ่มขึ้น 0.25 บาท Yd = C + S Yd ดังนั้น = C + S Yd = C + S ถ้า Yd = 1 Yd Yd Yd 1 = MPC + MPS ความสัมพันธ์ระหว่าง MPC และ MPS
C , S C = Yd C = a + bYd C <Yd ; APC <1 C =Yd ; APC =1 S = -a + (1-b)Yd a C >Yd ; APC >1 S > 0 ; APS > 0 45 S = 0 ; APS = 0 0 Yd S < 0 ; APS <0 -a
การเปลี่ยนแปลงการบริโภค (C) และการออม (S) • การเปลี่ยนแปลงบนเส้นการบริโภคและเส้นการออม (move along the curve) • การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของเส้นการบริโภคและการออม หรือการเคลื่อนขึ้นหรือเคลื่อนลงของเส้นการบริโภคและการออมทั้งเส้น (change in or shift in consumption and saving function)