180 likes | 389 Views
การนำเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา. โดย เอนก คงสมบัติ EE441 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า พฤหัสบดีที่3พฤษภาคม 2550 เวลา 9.00-10.00น. ห้อง 7409. ทำไมต้องเป็นครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง. 1.ต้องเข้าใจพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลง 2. ต้องเป็นนักจัดการชั้นเยี่ยมที่นำการ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ได้
E N D
การนำเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาการนำเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา โดย เอนก คงสมบัติ EE441 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า พฤหัสบดีที่3พฤษภาคม 2550 เวลา 9.00-10.00น. ห้อง 7409
ทำไมต้องเป็นครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงทำไมต้องเป็นครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง • 1.ต้องเข้าใจพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลง • 2. ต้องเป็นนักจัดการชั้นเยี่ยมที่นำการ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ได้ • 3. ต้องทำงานสนองนโยบายระดับสูงให้เกิดผลงานเชิง ประจักษ์ได้ และเป็นต้นแบบได้ • 4. ต้องเรียนรู้เทคนิคใหม่ๆ จากการแสวงหาต้นแบบเก่งๆ
Prof. Neal Thornberry ผู้นำในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง 4. ทุกคนเข้าใจยอม 1. ไม่เห็นด้วยไม่ตอบโต้ เปลี่ยนแปลง 2. ไม่เห็นด้วยและต่อต้าน 3. อยากเปลี่ยนแต่ยัง ไม่รู้จะทำอะไร การเปลี่ยนแปลงมี 4 ขั้นตอน เหมือนบ้าน มี 4 ห้อง ผู้นำจึงต้องสร้างการเปลี่ยนแปลงไปถึงห้องที่ทุกคนอยู่อย่างมีความสุข
กลุ่มที่ 1 ตั้งใจทำตาม และทำได้ สำเร็จ (แชมเปี้ยน) มีการปรับตัว เห็นด้วยกับนโยบายอย่างเปิดเผย เข้าใจนโยบาย มีทรัพยากรในการทำงาน
ไม่เข้าใจนโยบาย กลุ่มที่ 2 ตั้งใจทำตาม แต่ทำตามไม่สำเร็จ (ขอพี่เลี้ยง) ทำแล้วผลประโยชน์ไปตกกับกลุ่ม ที่ไม่สมควรได้รับ ทำแล้วมีผู้รับผลประโยชน์น้อย ไม่คุ้มค่า วิธีแก้ไข ทำเป้าหมายให้ชัดเจน มีคู่มือการปฏิบัติงาน การฝึกอบรม การให้คำปรึกษา มีการติดตามผลงาน การให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรู้สิทธิจากนโยบาย
ตั้งใจไม่ทำตาม - ทำเพื่อผลประโยชน์ของตน - ตั้งใจเปลี่ยนวิธีทำงาน - ทำอย่างอื่นแทน กลุ่มที่ 3 ตั้งใจไม่ ทำตามและ ทำสำเร็จน้อย (เบี้ยว) พลิกแพลงกฎระเบียบ เตะถ่วง ผักชีโรยหน้า แสดงตนเป็นปฏิปักษ์อย่างเปิดเผย ผลักดันภาระไปให้ผู้อื่น/ ขอย้าย ไปทำหน้าที่อื่น มาตรการลงโทษ/วิธีแก้ไข ให้ข้อมูลทุกฝ่าย สรรหาคนดีซื่อสัตย์มาทำ ให้กลุ่มหลากหลายเข้ามาร่วม สร้างการมีส่วนร่วม จัดทำคู่มืออบรมชี้แจง
ไม่สนใจนิ่งเฉย กลุ่มที่ 4 ตั้งใจไม่ทำตาม แถมทำไม่สำเร็จ(บูด) ทำแบบขอไปที การแก้ไขรายบุคคล มีระบบตรวจสอบการทำงาน ใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย
ทิศทางการศึกษาในโลกยุคใหม่ทิศทางการศึกษาในโลกยุคใหม่ • โรงเรียนแห่งอนาคต(ห้องเรียนแบบใหม่ ทั้งครูและนักเรียนใช้เทคโนโลยีช่วย นักเรียนเรียนแบบอัธยาศัย) • ต้องสนองความต้องการ(ฝ่ายจัดต้องปรับนโยบายตามที่ลูกค้าสนใจ ต้องทำการตลาดผู้จัดต้องแข่งขันกัน
แนวโน้มการจัดการศึกษายุคใหม่: การใช้สถานศึกษาเป็นฐานสร้างชุมชนเข้มแข็ง ( Whole School-Community Based Development Approach • 1..ตกลงหลักการทำงานร่วมกันก่อนทำงาน คือต้องมุ่งมั่น+ทุกฝ่ายทำร่วมกัน+เกื้อกูลกัน • 2.มียุทธศาสตร์ขับเคลื่อนด้วยกระบวนการสังคม+ใช้ชุมชนเป็นตัวตั้งโดยสถานศึกษาประสาน+เชื่อมโยงทุกระดับ+มีการจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากพื้นที่ต้นแบบ
คำถามยอดนิยมเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เกี่ยวกับการศึกษาคำถามยอดนิยมเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เกี่ยวกับการศึกษา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะประยุกต์ใช้กับการพัฒนาระบบการศึกษาของไทยได้ อย่างไร ตอบได้ เพระการศึกษาคือเครื่องมือและการลงทุนพัฒนาคนให้รู้จักคิด ทำเป็นอย่างมีเหตุผลซึ่งเป็นการสร้างสังคมฐานเศรษฐกิจและการเรียนรู้
1.ช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนมากขึ้น1.ช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนมากขึ้น ทำไมสหประชาชาติยกย่องวิธีพัฒนาโดยใช้ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง เพราะรหัสการพัฒนาคนยุคใหม่แบบตะวันตก: เน้น ความรู้อำนาจ และ เงินเกิดปัญหา ปัญหาจาก พัฒนาแบบตะวันตก ที่มุ่งความรู้ + +อำนาจ+เงิน 2.ทำลาย สิ่งแวดล้อม 3.วิกฤติ ทางสังคม 4.ทำลายวัฒนธรรมและจิตวิญญาณ 53
คำถามเก่า คำถามใหม่ ความเพียร ทำลายสิ่งแวดล้อม ความดีคืออะไร เรียนรู้เข้าถึงความดี คอรัปชั่น เอาเปรียบ ทำอย่างไร จะรวย ความมีน้ำใจ ละเมิด สิทธิมนุษย์ พัฒนาจิต ความซื่อสัตย์ อบายมุข ความประหยัด ยาเสพติด ค้ากำไรเกินควร สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจพอเพียง ความเสื่อมเสียทางจริยธรรม
ตัวอย่างผู้นำที่ทำได้ผลดีเป็นที่ยกย่องในแวดวงธุรกิจ โชค บูลกุล :วิถีเศรษฐกิจพอเพียง ผู้พลิกฟื้นธุรกิจฟาร์ม โชคชัยจากหนี้สิน 500ล้าน มาสู่ธุรกิจการ เกษตรที่ยั่งยืนตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง
นักธุรกิจหนุ่ม โชค บูลกุล“สำหรับผม เศรษฐกิจพอเพียง คือ สติ ” "ถ้าเราไม่เอาความโลภของตนเองไปเปรียบเทียบกับคนอื่นที่เขามี... ตกหลุมพรางของกระแสเห็นคนอื่นเขามีก็อยากมีบ้าง... หลักของเศรษฐกิจพอเพียง (1) การอยู่อย่างพอประมาณ คือ เราไม่ไปเปรียบเทียบสิ่งที่เราขาดกับสิ่งที่คนอื่นมี (2) ความมีเหตุมีผล คือ เราเอาความรู้และประสบการณ์ของเรามาพัฒนาต่อยอด และ (3) มีภูมิคุ้มกัน คือ เราอยู่อย่างพอเพียง รักษากระแสเงินสดในมือ ไม่กู้หนี้ยืมสินอีก
หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว เงื่อนไขคุณธรรม(ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน) เงื่อนไขความรู้(รอบคอบ รอบรู้ ระมัดระวัง) ชีวิตเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สมดุล มั่นคง และยั่งยืน
วัตถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการวัตถุประสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการ ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาทุกระดับทั้งในและนอกระบบ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารองค์กร บริหารการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ สู่การดำรงชีวิต เฉลิมพระเกียรติ 60 ปีครองราชย์และ80พรรษา ให้สถานศึกษาเป็นศูนย์กลางแหล่งเรียนรู้ในชุมชน สร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิตที่พอเพียง
เป้าหมาย สร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแก่บุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ ระยะแรก2549-2550 สร้างความรู้ความเข้าใจและกระแสสนับสนุนเกี่ยวกับปรัชญาฯ สร้างผู้นำ สถานศึกษาต้นแบบ เกิดการพัฒนาและสร้างคนที่มีความรู้ความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้