220 likes | 766 Views
กิจกรรมถอดสกัดความรู้. บทบาทครู. เรื่องเล่า. ชื่อ. NO. ภาพรวมของ Workshop. ฝึก dialogue + deep listening แนะนำตัวเอง + หัวข้อเรื่องความภาคภูมิใจที่จะเล่า ( 1 นาที / คน). รอบแรก. เตรียมใจ (2 นาที). ประธาน. รอบสอง. เลขาฯ. Knowledge Assets. 1. 2. จดบันทึก.
E N D
กิจกรรมถอดสกัดความรู้กิจกรรมถอดสกัดความรู้
บทบาทครู เรื่องเล่า ชื่อ NO. ภาพรวมของ Workshop ฝึก dialogue + deep listening แนะนำตัวเอง + หัวข้อเรื่องความภาคภูมิใจที่จะเล่า ( 1 นาที / คน) รอบแรก เตรียมใจ (2 นาที) ประธาน รอบสอง เลขาฯ Knowledge Assets 1 2 จดบันทึก Storytellingความสุข/ ความภาคภูมิใจ“ในการช่วยให้นักเรียนค้นพบศักยภาพการเรียนรู้”(5 นาที /คนทดเวลา 5 นาที ซักถาม) 3 10 C M เน้นวิธีปฏิบัติ 9 4 ปฏิบัติ 8 5 7 6 The Best Practice เล่าในกลุ่มใหญ่
การเล่าเรื่อง (Story telling) เป้าหมายสำคัญ ให้ผู้มีความรู้จากการปฏิบัติ ปลดปล่อยความรู้ที่ซ่อนอยู่ในส่วนลึก หัวใจ (ความเชื่อ) สมอง (ความคิด) ร่างกาย (การปฏิบัติ) ออกมาเป็นคำพูด และหน้าตาท่าทาง (เป็นการปลดปล่อยความรู้จากการปฏิบัติ) แหล่งข้อมูล: วิจารย์ พานิช การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ
ต้องเป็นกลุ่มเล็กไม่เกิน 10 คน เพื่อให้มีความรู้สึกใกล้ชิด เป็นกันเอง ไม่เป็นทางการ สร้างความรู้สึกเป็นอิสระได้ง่าย ความรู้สึกแบบนี้เอื้อต่อการเล่าเรื่องอย่างมีพลัง ทำให้ความรู้ฝังลึก และซ่อนอยู่มิดชิดจนตัวเองก็ไม่รู้ว่าตนรู้ ถูกปลดปล่อยออกมาได้ง่ายขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นด้วยบรรยากาศ • สมาชิกกลุ่มเป็น “ตัวจริง”ซึ่งหมายความว่า เป็นผู้ปฏิบัติงานเพื่อการบรรลุ “หัวปลา” ที่ตกลงกัน ด้วยตนเอง เรื่องเล่าความสำเร็จ(Storytelling) ประสบการณ์ Coaching & Mentor ความสุข/ ความภาคภูมิใจ“ในการช่วยให้นักเรียนค้นพบศักยภาพการเรียนรู้”
ดึงความรู้ที่อยู่ในคน (tacit K)ออกมา : คนละ ~ 5 นาที เรื่องเล่าความสำเร็จ(Storytelling) มี คุณอำนวย (KF) ทำหน้าที่ดำเนินการ ประชุมและสรุปประเด็น เป็นระยะๆ มี คุณลิขิต (เลขา : Note taker ) บันทึกลงบน Flip Chart และสกัดประเด็นที่ได้จากเรื่องเล่าใน Card
คำแนะนำ • พูดแบบเปิดใจ • ฟังแบบตั้งใจ ฟังแบบแขวนลอย • ให้โอกาสผู้อาวุโสน้อยพูดก่อน • ประธานต้องสร้างบรรยากาศ เชื้อเชิญให้ผู้น้อยกล้าแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระ
เทคนิคการเล่าเรื่อง • เล่าเพียงประเด็นเดียว • เล่าสั้นๆ เล่าตามความเป็นจริง • เล่าให้เห็นตัวละคร เห็นการกระทำ • เล่าแบบข้อมูลดิบ ไม่ตีความ ไม่ใส่ไข่ • การเล่าความคิดโดยไม่กังวลว่าจะถูกหรือผิด • เล่าให้มีชีวิตชีวา • ดึงความรู้ฝังลึกจากการปฏิบัติ
Deep Listening : ตั้งใจฟังโดยไม่ตัดสิน : การจัดการความรู้ กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์ สู่ศักยภาพ เสรีภาพ และความสุข โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี แนะนำตัว เปิดใจให้คนอื่นรู้จักตัวตน ความคาดหวังครั้งนี้ (ทำไมต้องมา)
Deep Listening : tips ผู้ฟัง ฟังอย่างตั้งใจ ไม่เสนอข้อแนะนำใดๆ เช่น ทำไมไม่ทำแบบ แบบนี้ เป็นต้น แต่ซักถามในลักษณะขอข้อมูลเพิ่มได้ เก่งจัง ทำได้ไงเนี่ย ?
KF, NT ประสานงานกลุ่ม KP ช่วยกันจัดกลุ่มประเด็นที่เหมือน/คล้ายกัน (การ์ด) ไว้ด้วยกัน ติดบน Flip chart เพื่อจะได้ดูพร้อมๆ กัน สร้างขุมความรู้ (Knowledge Assets) ประเด็นก็คือ ความชัดเจนของเป้าหมายใช่มั้ยค่ะ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (บทบาทครู C & M) • การจับประเด็น ใช้ข้อความ หรือถ้อยคำ ที่สื่อถึงความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit K) หรือเป็นความรู้จากการปฏิบัติ ไม่ใช่ทฤษฎี • พยายามหลีกเลี่ยง ข้อความหรือถ้อยคำที่ท่านเคยอ่านมาแล้ว หรือใช้ในงานเขียนเชิงวิชาการที่ผ่านมา • ตรวจสอบ “ขุมความรู้” ของกลุ่มอีกครั้ง ว่าถ้อยคำที่ใช้นั้นสื่อถึงความรู้เชิงปฏิบัติเพียงใด
เลือกกรณีศึกษาเรื่องเล่า 1 เรื่อง The Best Practice เล่าในกลุ่มใหญ่
บทบาทครู เรื่องเล่า ชื่อ NO. ภาพรวมของ Workshop ฝึก dialogue + deep listening แนะนำตัวเอง + หัวข้อเรื่องความภาคภูมิใจที่จะเล่า ( 1 นาที / คน) รอบแรก เตรียมใจ (2 นาที) ประธาน รอบสอง เลขาฯ Knowledge Assets 1 2 จดบันทึก Storytellingความสุข/ ความภาคภูมิใจ“ในการช่วยให้นักเรียนค้นพบศักยภาพการเรียนรู้”(5 นาที /คนทดเวลา 5 นาที ซักถาม) 3 10 C M 1.2.3. เน้นวิธีปฏิบัติ 9 4 ปฏิบัติ 8 5 7 6 The Best Practice เล่าในกลุ่มใหญ่
Storytellingความสุข/ ความภาคภูมิใจ“ในการช่วยให้นักเรียนค้นพบศักยภาพการเรียนรู้”(5 นาที /คนทดเวลา 5 นาที ซักถาม)