1 / 13

โรงเรียน ปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

โรงเรียน ปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. ศึกษาอัตราส่วนการพ่นเชื้อรา Trichoderma ที่มีผลต่อการอยู่รอดของกิ่งปักชำ โดยควบคุมด้วยความชื้นในวัสดุปลูก ( Group). เรื่องที่จะศึกษา

alima
Download Presentation

โรงเรียน ปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรงเรียน ปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ศึกษาอัตราส่วนการพ่นเชื้อรา Trichodermaที่มีผลต่อการอยู่รอดของกิ่งปักชำ โดยควบคุมด้วยความชื้นในวัสดุปลูก (Group)

  2. เรื่องที่จะศึกษา • ศึกษาการเจริญเติบโตหรือการอยู่รอดของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงโดยการขยายพันธุ์มาจากการ Cutting โดยใช้หม้อข้าวหม้อแกงลิงสายพันธุ์ Ventrataคือพันธุ์ผสมจาก Ventocosa x alata

  3. หม้อข้าวหม้อแกงลิงสายพันธุ์ Ventrata คือพันธุ์ผสมจาก Ventocosa x alata

  4. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาว่าเชื้อรา Trichodermaส่งผลให้ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็วจริงหรือไม่ และเชื้อราชนิดนี้ส่งผลต่อความชื้นอย่างไรบ้าง

  5. ขั้นตอนการดำเนินงาน • สร้างเครื่องมือเซนเซอร์วัดความชื้นในวัสดุปลูก เพื่อนำมาใช้ตรวจวัดความชื้นเมื่อฉีดพ่นเชื้อราในต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงและนำค่ามาเปรียบเทียบในเวลาที่แตกต่างกัน • ขยายเชื้อรา Trichodermaในข้าวเพื่อนำมาฉีดในต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง เพื่อนำมาศึกษา • เตรียมกิ่งปักชำของพันธุ์Ventrataเพื่อศึกษาการอยู่รอดเมื่อใช้เชื้อรา Trichoderma

  6. วัสดุที่ใช้ 1.ขุยมะพร้าวผสมหินภูเขาไฟ 2.แกลบผสมหินภูเขาไฟ 3.มะพร้าวสับผสมหินภูเขาไฟ

  7. หมายเหตุ 1 คือ ใช้ส่วนผสมของชนิดนั้น 0 คือ ไม่มีการใช้ส่วนผสมชนิดนั้น โดยนำวัสดุมาผสมกันในอัตราส่วนดังนี้ แบบพ่นเชื้อรา ขุยมะพร้าวผสมหินภูเขาไฟ     แกลบผสมหินภูเขาไฟ     มะพร้่าวสับผสมหินภูเขาไฟ  ถาดที่ 1 1                 :                0                :                   1  ถาดที่ 2      1                 :                1                :                   0  ถาดที่ 3      0                 :                1                :                   1 แบบไม่้พ่นเชื้อรา ขุยมะพร้าวผสมหินภูเขาไฟ     แกลบผสมหินภูเขาไฟ     มะพร้่าวสับผสมหินภูเขาไฟ ถาดที่ 1      1                 :                0                :                   1 ถาดที่ 2      1                 :                1                :                   0 ถาดที่ 3 0                 :                1                :                   1

  8. ในการพ่นเชื้อรานั้นจะแบ่งเวลาออกเป็น 3 ช่วงเวลาดังนี้ 1. ตอนเช้า  เวลา 08.00 น. 2. ตอนสาย เวลา 10.00 น. 3. ตอนบ่าย เวลา 14.00 น. พ่นทุกๆ 2 วัน

  9. เราจะประมาณการใช้ความเข้มข้นของสารประมาณ 1.0 มิลลิลิตร/ลิตร โดยอ้างอิงจากเอกสาร สนอง ทองปาน(1) กล่าวว่า " การวิจัยที่วิจัยการใช้ trichodermaในการรักษาและป้องกันโรคโคนรากเน่าโดยใช้ต้นราชชินีหินอ่อนและมีความเข้มข้น ของสารเป็น 4.0 มิลลิลิตร/ลิตร " เราจึงประมาณการเอาโดยไม่สามารถบอกได้แน่ชัดว่าจะส่งผลได้จริงหรือไม่ เนื่องจากขนาดของต้นไม่เท่ากันและการเจริญเติบโต โครงสร้างของต้นต่างกัน เลยลองประมาณการใช้ความเข้มข้นแค่ประมาณ 1.0 มิลลิลิตร การตรวจวัดความชื้นหลังจากพ่่นเชื้อราจะตรวจหลังการพ่นเชื้อรา 2 วันหลังจากฉีดพ่นตามเวลาที่กำหนดในแต่ละครั้ง ว่ามีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด แต่ละชุดการทดลองแตกต่างกันอย่างไร มีการพัฒนาอะไรขึ้นบ้าง

  10. การตรวจวัดความชื้นหลังจากพ่่นเชื้อราจะตรวจหลังการพ่นเชื้อรา 2 วันหลังจากฉีดพ่นตามเวลาที่กำหนดในแต่ละครั้ง ว่ามีการเปลี่ยนแปลงมากน้อยเพียงใด แต่ละชุดการทดลองแตกต่างกันอย่างไร มีการพัฒนาอะไรขึ้นบ้าง

  11. จุดมุ่งหมาย ถ้าเชื้อรา Trichodermaสามารถส่งผลให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็วและรักษาโรคโคนรากเน่าได้ แล้วเชื้อราชนิดนี้จะสามารถทำให้ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงเจริญเติบโตได้

  12. เอกสารอ้างอิง (1) สนอง ทองปานสาขาวิชาการมัธยมศึกษา กลุ่มการสอนสิ่งแวดล้อม คณะศึกษาศาสตร์ และศูนย์วิจัยและการจัดการความรู้ทางพฤกษศาสตร์ หาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒงานวิจัยเรื่องนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากศูนย์วิจัยและการจัดการความรู้ทางพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร http://www.siamexotica.com/Carnivorous-Growing.html http://www.neofarmthailand.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=307804&Ntype=2

  13. สมาชิก • นาย สิทธิโชค จมจา. • นางสาว นุชเนตร พิมแพง • นางสาว มาริษาอรรถาลำ

More Related