120 likes | 274 Views
นโยบายการออมกับกรอบการลงทุนของประเทศไทย. รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบริหารเศรษฐกิจไทย. แนวทางการบริหารเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมาภายหลังจากวิกฤตเศรษฐกิจ คือ การบริหารด้านอุปสงค์ ( Demand Management )
E N D
นโยบายการออมกับกรอบการลงทุนของประเทศไทยนโยบายการออมกับกรอบการลงทุนของประเทศไทย รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบริหารเศรษฐกิจไทยการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบริหารเศรษฐกิจไทย • แนวทางการบริหารเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมาภายหลังจากวิกฤตเศรษฐกิจ คือ การบริหารด้านอุปสงค์ (Demand Management) • ความสำเร็จที่ผ่านมาเกิดจากการมีกำลังการผลิตส่วนเกินในระบบเศรษฐกิจ (Capital Utilization rate =52% ในปี 2541) • ปัจจุบัน อัตราการใช้กำลังการผลิตเข้าสู่ระดับ 75% ในไตรมาสที่ 1 ปี 2547 ส่งสัญญาณการเข้าสู่ระดับการผลิตที่ระดับการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment or Full Capacity) • การเปลี่ยนเชิงนโยบายมาเป็นการบริหารอุปทาน (Supply Management)
Reaching full capacity New Policy Paradigm must start Current Government Assumes Power 1997 Crisis Source: MOF
การบริหารด้านอุปทาน--การลดข้อจำกัดด้านอุปทานการบริหารด้านอุปทาน--การลดข้อจำกัดด้านอุปทาน • การผลิตที่ระดับการผลิตเต็มที่ = ข้อจำกัดด้านอุปทาน • อุปสงค์ที่มีมากในระบบเศรษฐกิจรัฐบาลและเอกชนต้องมีการขยายการลงทุนเพื่อรองรับความต้องการเหล่านี้ • การลงทุนที่เหมาะสมควรเป็นการลงทุนเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต (Productivity) –การลงทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน + การลงทุนในปัจจัยพื้นฐานของรัฐ • การจัดการให้มีการขยายตัวที่เหมาะสมของปัจจัยการผลิตคาดว่าจะทำให้ระบบเศรษฐกิจไทยสามาถขยายตัวได้ประมาณ ร้อยละ 7 ต่อปี
Infrastructure Investment Plans 2005-2008 Committed Projects • Investment projects of Airports of Thailand • THAI Aircrafts purchase • Rail line projects: Skytrain and Subway • Interstate Highway: Samutsakorn-Lham Phak Bia • PTT Gas pipeline project • Low cost housing projects Billion Baht Non-Committed Projects • Dual-track railways • Water Grid • Land Bridge: Refinery & oil pipeline
การลงทุนเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต--การลงทุนในปัจจัยพื้นฐานของรัฐการลงทุนเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต--การลงทุนในปัจจัยพื้นฐานของรัฐ • ประมาณการเบื้องต้น การลงทุนเฉลี่ยปีละ 350,000 ล้านบาท • แนวทางการระดมทุน ประกอบด้วย การกู้ยืมจากในและต่างประเทศ เงินงบประมาณของรัฐบาล กำไรของรัฐวิสาหกิจ และการระดมทุนผ่านตลาดหลักทรัพย์ • การระดมทุนเพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ต้องคำนึงถึงข้อจำกัดด้านการเงิน (Financial Constraint) และด้านเศรษฐกิจที่แท้จริง (Real SectorConstraint)
Current Financial Plan Other Instruments for Mobilization • Stock Market • Securitization • Asian Bond • Mutual Fund Preliminary Plans are subject to be revised Borrowing 52 % Budget 32 % Mobilization through Stock Mkt 1%
การลงทุนเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต—การลงทุนในปัจจัยพื้นฐานของรัฐ (ต่อ) • ทางเลือกในการผ่อนคลายข้อจำกัดทางด้านการเงิน ได้แก่ Securitization Asian Bondและ การระดมเงินออมเพิ่ม (Saving Mobilization)
ช่องว่างระหว่างการออมและการลงทุนช่องว่างระหว่างการออมและการลงทุน ก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ หลังวิกฤตเศรษฐกิจ
ประมาณการช่องว่างระหว่างการออมที่ไม่มีนโยบายกระตุ้นการออม และการลงทุนที่รวมการลงทุนในปัจจัยพื้นฐาน S-I Gap decreases gradually Negative S-I Gap around -0.9 to 3.0% of GDP
ข้อเสนอการกระตุ้นเงินออมของประเทศข้อเสนอการกระตุ้นเงินออมของประเทศ • ส่งเสริมให้เกิดการออมเพื่อการเกษียณอายุ (การออมระยะยาว) มากขึ้น ผ่านช่องทางที่มีความเป็นไปได้ดังนี้ ระบบการออมเพื่อการเกษียณอายุของไทย การออมที่กำหนดโดยรัฐ (การออมแบบบังคับ) การออมที่ไม่ถูกกำหนดโดยรัฐ (การออมแบบสมัครใจ)
ข้อเสนอการกระตุ้นเงินออมของประเทศข้อเสนอการกระตุ้นเงินออมของประเทศ • เครื่องมือการออมที่ถูกกำหนดโดยรัฐ—การประกันสังคม และกองทุนบำเหน็จบำนาญราชการ (กบข.) • เครื่องมือการออมที่ไม่ถูกกำหนดโดยรัฐ—กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD) กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และการประกันชีวิต • มาตรการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเป็นมาตรการที่สำคัญในการกระตุ้นเงินออม • การกระตุ้นเงินออมเป็นเงื่อนไขในการแก้ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดให้อยู่ในระดับที่ไม่ทำให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ (เงินออมควรเพิ่มขึ้นประมาณ 2.81% ของGDP)