171 likes | 620 Views
Machine and Labor Requirement. การหาจำนวนเครื่องจักรที่ต้องการกรณี Product Layout.
E N D
การหาจำนวนเครื่องจักรที่ต้องการกรณี Product Layout
ตัวอย่างที่ 1 จงหาจำนวนเครื่องจักรที่ต้องใช้ในการผลิตงานชนิดหนึ่งซึ่งผ่านกระบวนการ ตัด กลึง เจียรนัยตามลำดับ จากการคาดคะเนการขายได้ผลว่าจะขายได้ 48,000 หน่วย/ปี สมมุติว่าในปีหนึ่งมีการทำงาน 300 วัน วันละ 8 ชั่วโมง และให้คิดเผื่อของเสียไว้ 10 % ให้กับเครื่องจักรทุกเครื่อง เวลามาตรฐานของเครื่อง ตัด กลึง เจียรนัย คือ 5, 2.5 และ 5 นาที ตามลำดับ
Dij= อัตราความต้องการของงาน i , R = % ของงานที่ใช้ได้ของเครื่อง j Pij= 48,000 = 53,333,333 หน่วยต่อปี 0.90 Tij= เวลาของการผลิตงาน i บนเครื่องจักร j Ti1 =5 นาที/หน่วย = 0.083 ชม.หน่วย Ti2 =2.5 นาที/หน่วย = 0.042 ชม.หน่วย Ti1 =15 นาที/หน่วย = 0.025 ชม.หน่วย ti1 =ti2 =ti3 =300 x 8 = 2,400 ชม./ปี M1 =53,333,333 x 0.083 = 1.84 เครื่อง 2,400 M1 =53,333,333 x 0.042 = 0.93 เครื่อง 2,400 M1 =53,333,333 x 0.25 = 5.56 เครื่อง 2,400
การหาจำนวนเครื่องจักรที่ต้องการกรณี Process Layout Nij= จำนวนครั้งในการติดตั้งงาน i บนเครื่อง j ในช่วงเวลาการผลิต Sij= เวลาที่ใช้ในการติดตั้งก่อนการผลิตงาน i บนเครื่อง j หน่วย นาที Cij= เวลาที่ใช้ในการทำงานหรือการตัดแต่งจริงของ งาน i บนเครื่อง j ในช่วงเวลาการผลิต = Pij Tij= Dij Tij R Tij= เวลามาตรฐานในการผลิตต่อหน่วย (ชม./หน่วย)
ตัวอย่างที่ 2 จงคำนวณหาจำนวนเครื่องจักรที่ต้องใช้ในการผลิต
การหาจำนวนคนงานที่ต้องการกรณี งานประกอบ
การหาจำนวนคนงานที่ต้องการกรณี เครื่องจักรไม่อัตโนมัติ จำนวนคนงานที่ต้องการขึ้นอยู่กับจำนวนเครื่องจักรที่ต้องการ และ ความต้องการของคนงานต่อเครื่องจักร 1 เครื่อง การหาจำนวนคนงานที่ต้องการกรณี เครื่องจักรอัตโนมัติ สามารถให้คนงานคุมเครื่องจักรมากกว่า 1 เครื่องได้แยกเป็น 2 กรณี • เครื่องจักรไม่เหมือนกัน • เครื่องจักรมีลักษณะเหมือนกัน
กรณีเครื่องจักรเหมือนกันกรณีเครื่องจักรเหมือนกัน N = a+t a+b a = Concurrent Activity Time b = Independent Operator Activity Time t = Independent Machine Activity Time N = Number of Machines to Assign an Operator (Theoretical) m =Number of Machines Assigned an Operator TC = Repeating Cycle Time IO = Idle Operator Time during Repeating Cycle Time Im =Idle Time per Machine during Repeating Cycle Time
TC(m) =Cost per Unit Produced, base on an Assignment of m Machines per Operator C1 = Cost per Opertor-hour C2 = Cost per Machine-hour TC(m)= (C1 + mC2) TC m ถ้า m N TC = a + t , IO = (a + t) – m(a + b) Im = 0 , TC(m) = (C1 + mC2) (a + t)/m ถ้า m TC = m(a + b) , IO = 0 Im = m(a + b) – (a +t) , TC(m)= (C1 + mC2) (a + b)
= TC(n) TC(n +1) = (C1 + nC2)(a +t) [C1 + (n +1) C2 ] n (a + b) ถ้า = C1 จะได้ว่าการตัดสินใจมีดังนี C2 1. ถ้า < 1 ให้คุม n เครื่อง 2. ถ้า > 1 ให้คุม n + 1 เครื่อง 3. ถ้า = 1 ให้คุม n เครื่อง หรือ n+1 เครื่อง หนังสืออ้างอิง Francis, R. L., McGinnis, L. F., and White, J. A., Facility Layout and Location : An Analytical Approach, 2nd ed., Prentice –Hall ชัยนนท์ ศรีสุภินานนท์, การออกแบบผังโรงงาน, พิมพ์ครั้งที่ 1, พระจอมเกล้าธนบุรี
ตัวอย่าง การผลิตงานด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติชนิดหนึ่งใช้เวลาสำหรับขั้นตอนต่างๆดังนี้ Load ใช้เวลา 2 นาที Unload ใช้เวลา 2 นาที Inspection ใช้เวลา 1 นาที (after unloading) Run ใช้เวลา 10 นาที C1 120 บาท/ชม. , C2 400 บาท/ชม. 1. จงคำนวณหาจำนวนเครื่องจักรที่เป็นไปได้ 2. จงเขียนแผนภูมิ Man-Machine chart ของกรณีที่เป็นไปได้ทั้งหมด 3. จงคำนวณหาจำนวนเครื่องจักรที่เหมาะสม