400 likes | 575 Views
การสำรวจความเดือดร้อนและ ความต้องการของประชาชน พ.ศ. 2553 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สรุปผล. กรกฎาคม 2553. วัตถุประสงค์. เพื่อจัดทำข้อมูลสถิติที่มีคุณภาพ ครบถ้วน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการจัดทำนโยบายต่าง ๆ ภายใต้แผนปรองดองแห่งชาติได้อย่างถูกต้อง
E N D
การสำรวจความเดือดร้อนและการสำรวจความเดือดร้อนและ ความต้องการของประชาชน พ.ศ. 2553 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สรุปผล กรกฎาคม 2553
วัตถุประสงค์ • เพื่อจัดทำข้อมูลสถิติที่มีคุณภาพ ครบถ้วน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการจัดทำนโยบายต่าง ๆ ภายใต้แผนปรองดองแห่งชาติได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็วทันการณ์ • เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาต่าง ๆ และความต้องการความช่วยเหลือจากทางราชการ เพื่อเป็นข้อมูลให้รัฐบาล ผู้สนใจ และผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ในการจัดทำนโยบาย แผนงาน/ โครงการในการแก้ปัญหาจากภาวะวิกฤติได้อย่างรวดเร็ว ตรงกับสถานการณ์ของพื้นที่ รวมทั้งให้ประชาชนได้รับประโยชน์จากการบริการและสาธารณูปโภคพื้นฐานตามที่ต้องการ อย่างทั่วถึง และสังคมมีความปรองดอง สมานฉันท์กันมากขึ้น
ระเบียบวิธีการสำรวจ • คุ้มรวม :ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ทั่วประเทศ • แผนการสุ่มตัวอย่าง :ใช้การเลือกตัวอย่างสามขั้นแบบแบ่งชั้นภูมิ มีจำนวนประชาชนตัวอย่างทั้งสิ้น 100,920 คน กระจายไปในทุกจังหวัด ทั่วประเทศ • การเสนอผลการสำรวจ :ในระดับ กทม. จังหวัด ภาค (4 ภาค) และทั่วประเทศจำแนกตามเขตการปกครอง ในรูปร้อยละ • คาบการเก็บรวบรวมข้อมูล :ระหว่างวันที่ 18 – 24 มิถุนายน 2553
การเลือกตัวอย่างสามขั้นแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Three-stage Sampling) ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3
ทบทวนรายละเอียดแบบสอบถามทบทวนรายละเอียดแบบสอบถาม • ตอนที่ 4 สิ่งที่ต้องการให้รัฐบาลดำเนินการ • ปัญหาด้านเศรษฐกิจ • ปัญหาด้านสังคม สถานที่ตั้ง ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป เช่น เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ • ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นอยู่ • การประเมินฐานะความเป็นอยู่ (เปรียบเทียบ ปีที่ผ่านมา/ปัจจุบัน/ปีหน้า) • สาเหตุที่คนจน • ความพึงพอใจต่อสภาพความเป็นอยู่ (12 เรื่อง) • ตอนที่ 5 สวัสดิการสังคมและโครงสร้างพื้นฐาน ความคิดเห็นต่อมาตรการ/นโยบายของรัฐบาล (14 นโยบาย) • ความเพียงพอของสาธารณูปโภคในชุมชน/หมู่บ้าน • ความคิดเห็นต่อแนวคิดที่จะดำเนินการระบบ รถไฟรางคู่/โครงข่าย 3G • การประสบปัญหาจากการให้บริการของเจ้าหน้าที่รัฐ • ความทุกข์หรืออัดอั้นตันใจที่ต้องการให้ รัฐบาลทราบ (คำถามปลายเปิด) • ตอนที่ 3 ปัญหาความเดือดร้อนในปัจจุบัน • ชีวิตความเป็นอยู่และครอบครัว • อาชีพ และการทำงาน • รายได้ และหนี้สิน • การศึกษา • สภาพสิ่งแวดล้อม • อื่นๆ
ความคิดเห็นในเรื่องความยากจนจากการประเมินตนเองความคิดเห็นในเรื่องความยากจนจากการประเมินตนเอง
ความคิดเห็นของประชาชนที่รู้สึกว่าตนเองมีฐานะจนความคิดเห็นของประชาชนที่รู้สึกว่าตนเองมีฐานะจน ทั่วประเทศ นอกเขตเทศบาล ในเขตเทศบาล ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ 20 20 20 15.5 14.9 14.5 14.5 15 15 15 13.3 12.8 13.1 12.6 12.7 11.6 12.0 11.8 11.5 10 10 10 8.1 8.2 8.2 8.2 5 5 5 ภาค ภาค 0 0 0 ใต้ ใต้ กลาง เหนือ กลาง ต.อ.น. ต.อ.น. กทม. เหนือ ทั่วประเทศ ทั่วประเทศ ใต้ กลาง เหนือ ต.อ.น. กทม. ทั่วประเทศ หมายเหตุ :กทม. ไม่มีนอกเขตเทศบาล ภาค คนที่รู้สึกว่าตนเองฐานะจนมีร้อยละ 12.8 โดยปัญหาความยากจนเป็นปัญหามากของคนจนเมืองที่อยู่ใน กทม. และ คนชนบทที่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ข้อมูลจาก สสช. และ สศช. และ ทีดีอาร์ไอที่ได้วิเคราะห์สัดส่วนคนจนด้านรายจ่ายในปี 2551 พบว่า มีประมาณร้อยละ 9 (คนที่มีรายจ่ายต่ำกว่า 1,579 บาท/เดือน ถือว่าเป็นคนจน)
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสาเหตุที่จน 5 อันดับแรก คนเกือบทุกภาคเห็นว่าสาเหตุสำคัญที่จนเพราะไม่มีทุนประกอบอาชีพ ยกเว้น คนใน กทม. เห็นว่าเป็นเพราะขาดโอกาส
ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นอยู่ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นอยู่
ภาค กทม. ใต้ กลาง เหนือ ต.อ.น. ทั่วประเทศ ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นอยู่ของตนเอง กลุ่มที่ดีขึ้น ร้อยละ 40 33.0 30 ความเป็นอยู่ในปัจจุบันเทียบกับปีที่ผ่านมา 25.7 24.0 22.7 22.1 22.3 21.2 20 ความเป็นอยู่ในปีหน้าเทียบกับปัจจุบัน 14.2 13.6 13.3 12.4 12.1 10 0 กลุ่มที่แย่ลง กลุ่มที่เหมือนเดิม ร้อยละ ร้อยละ 38.1 38.2 37.4 75 40 33.9 60.0 32.4 60.3 59.1 58.8 56.9 60 54.7 56.4 54.3 30 51.9 50.5 49.5 48.2 45 21.3 19.6 18.5 18.2 17.9 20 17.2 30 10.1 10 15 ภาค ภาค 0 0 กทม. ใต้ กลาง เหนือ ต.อ.น. ทั่วประเทศ กทม. ใต้ กลาง เหนือ ต.อ.น. ทั่วประเทศ คนไทยเชื่อมั่นว่าความเป็นอยู่จะดีขึ้นในปีหน้า
ความพึงพอใจต่อสภาพความเป็นอยู่ของตนเองความพึงพอใจต่อสภาพความเป็นอยู่ของตนเอง แม้ว่าประชาชนจะไม่พึงพอใจสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันมากนัก แต่ก็ยังมีความพึงพอใจต่อสภาพชีวิตความเป็นอยู่และครอบครัว ซึ่งอาจจะแสดงให้เห็นถึงความอบอุ่นของครอบครัวไทย โดยเฉพาะในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปัญหาความเดือดร้อนในปัจจุบันของประชาชนปัญหาความเดือดร้อนในปัจจุบันของประชาชน
ความเดือดร้อนของประชาชนในด้านต่าง ๆ 3 อันดับแรก(สรุปรวมทั้งประเทศ)
ความเดือดร้อนของประชาชนในด้านต่าง ๆ 3 อันดับแรก(สรุปรวมทั้งประเทศ)
ความเดือดร้อนด้านชีวิตความเป็นอยู่และครอบครัว 3 อันดับแรก คนในทุกภาคมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องสุขภาพ ต้องรับภาระเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัวหลายคน และขาดที่พึ่ง/ไม่มีคนดูแล ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น กทม.ที่มีความรู้สึกเดือดร้อนแตกต่างในเรื่องไม่มีบ้าน/ที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง
ความเดือดร้อนด้านชีวิตความเป็นอยู่และครอบครัว 3 อันดับแรก คนในทุกภาคมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องสุขภาพ ต้องรับภาระเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัวหลายคน และขาดที่พึ่ง/ไม่มีคนดูแล ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น กทม.ที่มีความรู้สึกเดือดร้อนแตกต่างในเรื่องไม่มีบ้าน/ที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง
ความเดือดร้อนด้านอาชีพและการทำงาน 3 อันดับแรก คนในทุกภาคมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องต้นทุนการผลิตสูง ขาดแคลนเงินทุนในการประกอบอาชีพ การทำมาหากินฝืดเคือง/ไม่มีลูกค้า ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น กทม.ที่มีความรู้สึกเดือดร้อนแตกต่างในเรื่องไม่มีเส้นสายหรือพวกพ้องที่ช่วยในการทำงาน
ความเดือดร้อนด้านอาชีพและการทำงาน 3 อันดับแรก คนในทุกภาคมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องต้นทุนการผลิตสูง ขาดแคลนเงินทุนในการประกอบอาชีพ การทำมาหากิน ฝืดเคือง/ไม่มีลูกค้า ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น กทม.ที่มีความรู้สึกเดือดร้อนแตกต่างในเรื่องไม่มีเส้นสายหรือพวกพ้องที่ช่วยในการทำงาน
ความเดือดร้อนด้านรายได้และหนี้สิน 3 อันดับแรก คนในทุกภาคมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องรายได้ไม่แน่นอน/ราคาผลผลิตการเกษตรไม่แน่นอน รายได้ไม่พอกิน และขายผลผลิตการเกษตรได้ราคาต่ำ/ถูกกดราคา ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น กทม.และภาคกลางที่มีความรู้สึกเดือดร้อนแตกต่างในเรื่องเงินที่หามาได้ส่วนใหญ่ต้องนำมาใช้หนี้
ความเดือดร้อนด้านรายได้และหนี้สิน 3 อันดับแรก คนในทุกภาคมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องรายได้ไม่แน่นอน/ราคาผลผลิตการเกษตรไม่แน่นอน รายได้ไม่พอกิน และขายผลผลิตการเกษตรได้ราคาต่ำ/ถูกกดราคา ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น กทม.และภาคกลางที่มีความรู้สึกเดือดร้อนแตกต่างในเรื่องเงินที่หามาได้ส่วนใหญ่ต้องนำมาใช้หนี้
ความเดือดร้อนด้านการศึกษา 3 อันดับแรก คนเกือบทุกภาคมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องต้องมีการเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพื่อเข่งขันเรียนต่อ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่รู้สึกว่าเดือดร้อนเรื่องไม่มีโอกาสให้ลูกหลานเรียนสถาบันการศึกษาที่ดี
ความเดือดร้อนด้านการศึกษา 3 อันดับแรก คนเกือบทุกภาคมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องต้องมีการเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพื่อเข่งขันเรียนต่อ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่รู้สึกว่าเดือดร้อนเรื่องไม่มีโอกาสให้ลูกหลานเรียนสถาบันการศึกษาที่ดี
ความเดือดร้อนด้านสภาพสิ่งแวดล้อม 3 อันดับแรก คนในทุกภาคมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องภาวะโลกร้อน ภัยแล้ง/ฝนทิ้งช่วง และมลพิษทางอากาศ/ ฝุ่นละออง/หมอกควัน ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น กทม.ที่มีความรู้สึกเดือดร้อนแตกต่างในเรื่องขยะมูลฝอย
ความเดือดร้อนด้านสภาพสิ่งแวดล้อม 3 อันดับแรก คนในทุกภาคมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องภาวะโลกร้อน ภัยแล้ง/ฝนทิ้งช่วง และมลพิษทางอากาศ/ ฝุ่นละออง/หมอกควัน ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น กทม.ที่มีความรู้สึกเดือดร้อนแตกต่างในเรื่องขยะมูลฝอย
ความเดือดร้อนด้านอื่นๆ 3 อันดับแรก คนภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องความขัดแย้งทางการเมือง ในขณะที่ กทม. รู้สึกเดือดร้อนเรื่องการทุจริตคอรัปชั่นของเจ้าหน้าที่รัฐ นักการเมือง ส่วนภาคใต้รู้สึกว่าเดือดร้อนเรื่องความรุนแรงใน 3 จังหวัดภาคใต้ มากกว่าเรื่องอื่น
ความเดือดร้อนด้านอื่นๆ 3 อันดับแรก คนภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความรู้สึกเดือดร้อนในเรื่องความขัดแย้งทางการเมือง ในขณะที่ กทม. รู้สึกเดือดร้อนเรื่องการทุจริตคอรัปชั่นของเจ้าหน้าที่รัฐ นักการเมือง ส่วนภาคใต้รู้สึกว่าเดือดร้อนเรื่องความรุนแรงใน 3 จังหวัดภาคใต้ มากกว่าเรื่องอื่น
สิ่งที่ต้องการให้รัฐบาลดำเนินการแก้ปัญหาสิ่งที่ต้องการให้รัฐบาลดำเนินการแก้ปัญหา
สิ่งที่ต้องการให้รัฐบาลดำเนินการแก้ปัญหาสิ่งที่ต้องการให้รัฐบาลดำเนินการแก้ปัญหา คนในทุกภาคต้องการให้รัฐบาลแก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจเรื่องการควบคุมราคาสินค้าที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน ส่วนด้านสังคมต้องการจัดสวัสดิการรักษาพยาบาลของทุกกลุ่มให้เท่าเทียมกัน
มาตรการ/นโยบายของรัฐบาลมาตรการ/นโยบายของรัฐบาล
มาตรการ/นโยบายของรัฐ 98.8 เบี้ยยังชีพกับผู้สูงอายุ 96.5 หลักประกันสุขภาพ 93.5 กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา 96.3 เรียนฟรี 15 ปี 88.8 หลักประกันพืชผลทางการเกษตร 86.2 เศรษฐกิจพอเพียง 89.1 การแก้ไขหนี้นอกระบบ 98.2 เบี้ยยังชีพแก่ผู้พิการ 87.9 การแก้ไขปัญหาหนี้สินของเกษตรกร 80.1 โรงพยาบาลตำบลส่งเสริมสุขภาพ การช่วยเหลือผู้ประกันตนที่ ถูกเลิกจ้าง 80.9 83.7 โครงการผลิตภัณฑ์ชุมชน 83.3 โครงการธงฟ้า โครงการโฉนดชุมชน 67.8 ร้อยละ 100 40 60 80 0 20 ประชาชนที่ทราบมาตรการ/นโยบายของรัฐ ประชาชนทราบเกือบทุกนโยบาย โดยเฉพาะโครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และคนพิการ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคนให้ความสนใจคนด้อยโอกาสในสังคมมากขึ้น แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าโครงการโฉนดชุมชนมีคนทราบน้อยกว่าเรื่องอื่น โดยผู้ที่ทราบนโยบายนั้น ส่วนใหญ่ (มากกว่าร้อยละ 90) เห็นว่านโยบายเหมาะสมแล้ว โครงการเบี้ยยังชีพแก่ผู้พิการ และเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ มีผู้เห็นว่าไม่เหมาะสมมากกว่าเรื่องอื่น และเสนอว่าควรเพิ่มเบี้ยยังชีพให้มากกว่าเดิม
สาธารณูปโภคในชุมชน/หมู่บ้านสาธารณูปโภคในชุมชน/หมู่บ้าน
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสาธารณูปโภคในชุมชน/หมู่บ้านความคิดเห็นเกี่ยวกับสาธารณูปโภคในชุมชน/หมู่บ้าน คนยังเห็นว่าในเรื่องเส้นทางรถไฟ ระบบขนส่งมวลชน และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีไม่เพียงพอมากกว่าเรื่องอื่นๆ แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าในเรื่องน้ำประปา คนภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ประมาณ 1 ใน 4 เห็นว่าไม่เพียงพอ นอกจากนั้นคนในทุกภาคยกเว้น กทม. เห็นว่ารถสาธารณะที่เข้าชุมชน/หมู่บ้านมีไม่เพียงพอ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการรถไฟรางคู่ และโครงข่าย 3G
ความคิดเห็นเกี่ยวกับรถไฟรางคู่ และโครงข่าย 3G เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่รู้จัก รถไฟรางคู่ โครงข่าย 3G ร้อยละ ร้อยละ 100 100 18.9 31.5 31.6 80 80 6.2 47.4 43.7 56.5 52.3 56.0 51.9 62.1 49.2 6.2 3.8 64.1 60 60 4.5 5.1 4.1 2.2 4.0 3.6 3.1 40 40 2.6 74.9 2.5 62.3 64.6 45.5 51.8 47.5 46.7 20 40.4 20 40.4 44.1 35.3 33.4 ภาค ภาค 0 0 กทม. ใต้ กทม. ทั่วประเทศ กลาง เหนือ ใต้ ทั่วประเทศ กลาง เหนือ ต.อ.น. ต.อ.น. ขณะนี้ประชาชนจำนวนหนึ่งยังไม่ทราบเกี่ยวกับรถไฟรางคู่ และโครงข่าย 3 G ดังนั้นรัฐบาล ควรประชาสัมพันธ์ให้ข้อมูลและทำความเข้าใจแก่ประชาชนก่อนที่จะดำเนินการดังกล่าว
การประสบปัญหาจากการให้บริการของเจ้าหน้าที่รัฐการประสบปัญหาจากการให้บริการของเจ้าหน้าที่รัฐ
การเรียกรับสินบน การให้บริการโดยเลือกปฏิบัติ (ลำเอียง) ร้อยละ ร้อยละ 24.7 25 25 19.2 18.8 20 20 13.8 13.6 15 15 10.5 9.9 10 7.7 7.3 10 7.6 6.4 3.6 5 5 ภาค ภาค 0 0 ต.อ.น. ต.อ.น. เหนือ กลาง ใต้ เหนือ กลาง ใต้ กทม. กทม. ทั่วประเทศ ทั่วประเทศ การข่มขู่คุกคาม การทุจริตคอรัปชั่น ร้อยละ ร้อยละ 20 20 17.0 15 15 9.1 10 10 8.0 7.0 6.9 5.3 3.7 5 3.3 3.9 5 3.3 2.1 1.7 ภาค ภาค 0 0 ต.อ.น. ต.อ.น. เหนือ เหนือ กลาง ใต้ กลาง ใต้ กทม. กทม. ทั่วประเทศ ทั่วประเทศ ประชาชนที่ประสบปัญหาการให้บริการจากเจ้าหน้าที่รัฐ
การเชื่อมโยงผลการสำรวจกับแผนการปรองดองของรัฐบาลการเชื่อมโยงผลการสำรวจกับแผนการปรองดองของรัฐบาล
การวิเคราะห์ขยายผลจากสำรวจในขั้นต่อไปการวิเคราะห์ขยายผลจากสำรวจในขั้นต่อไป • สสช. ร่วมกับนักวิชาการ และสถาบันการศึกษา เจาะลึกข้อมูลในรายละเอียดเพื่อหาประเด็นปัญหาสำคัญดังนี้ • วิเคราะห์ความแตกต่างด้าน • ความคิดเห็นของประชากร • ในแต่ละกลุ่มอายุ อาชีพ • การศึกษา และรายได้ • วิเคราะห์ข้อมูลเจาะลึกระดับ • จังหวัดและกลุ่มจังหวัด (Cluster) สสช. ร่วมกับนักวิชาการจาก NIDA ศึกษารายละเอียดและบูรณาการ ข้อมูลชุดนี้ กับการสำรวจอื่นๆ เพื่อจัดทำดัชนีความอยู่ดีมีสุข (Well being index) ในระดับจังหวัด
ผลสำรวจความเดือดร้อนและความต้องการของประชาชนผลสำรวจความเดือดร้อนและความต้องการของประชาชน เปิดเวทีเพื่อระดมความคิดเห็นจากนักวิชาการ ผู้เกี่ยวข้อง และสถาบันการศึกษา (15 – 31 ส.ค. 53) รัฐบาลหารือระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนด ทิศทางของประเทศ(15 ก.ค. – 15 ส.ค. 53) ผลการศึกษาวิเคราะห์ ขยายผลการสำรวจ กำหนดแผน/นโยบายเพื่อลดความเหลื่อมล้ำและตอบสนองความต้องการของประชากร (1 -30 ก.ย. 53) สสช. จัดทำการสำรวจขนาดใหญ่ (Large scale survey) อีกครั้ง เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในเดือนตุลาคม 53 รัฐบาลกำหนดแผน/นโยบายให้เป็นรูปธรรมแก่ประชาชน ในเดือนมกราคม 54 ผู้สนใจ/สื่อมวลชน
วิสัยทัศน์ และพันธกิจ www.themegallery.com สังคมทุกภาคส่วนใช้สถิติ และสารสนเทศ เป็นเข็มทิศนำทางในการพัฒนา เพื่อประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ วิสัยทัศน์ • 1. บริหารจัดการสถิติและสารสนเทศของชาติให้เป็นระบบ • เพื่อสนับสนุนการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศ • 2. บริการข้อมูลสถิติและสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการทุกภาคส่วน พันธกิจ • การพัฒนาการบริหารจัดการระบบข้อมูลสถิติและสารสนเทศของชาติ อย่างบูรณาการได้มาตรฐาน • การพัฒนาระบบบริการข้อมูลสถิติและสารสนเทศ ยุทธศาสตร์ Company name