150 likes | 319 Views
ประเด็นชี้แจง. 1. คำอธิบายตัวชี้วัด สงป. ปี 2554 2. ทำความเข้าใจร่วมตัวชี้วัดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 3. หารือเกณฑ์การประเมินองค์ประกอบการบริหารจัดการที่สนับสนุนอำเภอ...เข้มแข็ง ของจังหวัด. การถ่ายทอดตัวชี้วัด สงป. ปีงบประมาณ 2554. กลุ่มพัฒนาแผนและงบประมาณ VDO Conferment
E N D
ประเด็นชี้แจง 1. คำอธิบายตัวชี้วัด สงป. ปี 2554 2. ทำความเข้าใจร่วมตัวชี้วัดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ 1 3. หารือเกณฑ์การประเมินองค์ประกอบการบริหารจัดการที่สนับสนุนอำเภอ...เข้มแข็ง ของจังหวัด 1
การถ่ายทอดตัวชี้วัด สงป. ปีงบประมาณ 2554 กลุ่มพัฒนาแผนและงบประมาณ VDOConferment วันที่ 14 ม.ค. 2554 1
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค 3,367.2788 ล้านบาท ยุทธศาสตร์การ จัดสรรงบประมาณ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต และลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม แผนงานพัฒนาด้านสาธารณสุข แผนงาน 1.ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สามารถลดภาระโรค ภัยคุกคามและความรุนแรงด้านสุขภาพได้ 3,367.2788 ล้านบาท (100%) เป้าหมายการให้บริการกระทรวง 1.เครือข่ายมีระบบข่าวกรองที่ทันสมัยและมีศักยภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค การบังคับใช้กฎหมาย และการจัดการป้องกัน ลดปัญหาที่มีผลกระทบ ต่อสุขภาพ รวมทั้งเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข 1,990.4543 ล้านบาท (59.11%) 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มเสี่ยงได้รับบริการ ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสภาพ เฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 1,376.8245 ล้านบาท (40.89%) เป้าหมายการให้บริการกรมฯ 1.กำหนดและพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์ กฎหมาย มาตรการ มาตรฐาน แนวปฏิบัติ เพื่อการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 2. พัฒนาและประเมินศักยภาพระบบ กลไกของ หน่วยงานและเครือข่าย ระบบข่าวกรอง การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ การบังคับใช้กฎหมายและการสื่อสัญญาณเตือนภัย การระบาดของโรค ภัยและปัจจัยเสี่ยง 3.พัฒนาและปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้ง การสื่อสารความเสี่ยง กรณีที่เป็นปัญหา วงกว้างหรือเกิดโรคระบาดรุนแรง 4.พัฒนาการบริการรักษาและฟื้นฟูสภาพ เฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพ ของหน่วยงานและเครือข่ายให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล กลยุทธ์ 1. องค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่ได้มาตรฐาน (60 เรื่อง) 274.2047 ล้านบาท (8.14%) 2. เครือข่ายเป้าหมายได้รับการสนับสนุน เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งในการจัดการ ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ (1,566 หน่วยงาน) 1,716.2496 ล้านบาท (50.97%) 4.เครือข่ายเป้าหมายได้รับการพัฒนาคุณภาพ การให้บริการเฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพ (28 หน่วยงาน)717.6628 ล้านบาท (21.31%) 3.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่ เป็นปัญหาสำคัญ (5,119,000 ราย) 659.1617 ล้านบาท (19.58%) ผลผลิต 1.1 ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาวิชาการเพื่อกำหนด นโยบาย ยุทธศาสตร์ กฎหมาย มาตรการ มาตรฐาน แนวปฏิบัติและ ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ (60 เรื่อง) 274.2047 ล้านบาท (8.14%) 2.1 พัฒนาประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวังข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ (5 ระบบ) 232.1445 ล้านบาท (6.89%) 3.1 บริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่เป็นปัญหารุนแรงและ กลุ่มเป้าหมายพิเศษ (5,119,000 ราย) 519.2977 ล้านบาท (15.42%) 4.1 บริการรักษาและฟื้นฟูสภาพ เฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพของ หน่วยงาน เพื่อสร้างมาตรฐาน ระบบบริการ (256,000 ราย) 586.9721 ล้านบาท (17.43%) 2.2 พัฒนาระบบบริหารจัดการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์(30 หน่วยงาน) 382.6447 ล้านบาท (11.36%) กิจกรรมหลัก 2.3 แก้ไขปัญหามลพิษและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตจังหวัดระยอง (1 เรื่อง) 4.4415 ล้านบาท (0.13%) 3.2 ถ่ายทอดความรู้ในการดูแล สุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมที่มีคุณภาพ(9 เรื่อง) 139.8640 ล้านบาท (4.16%) 4.2 พัฒนาศักยภาพระบบ กลไก ของหน่วยงานและเครือข่ายบริการ เฉพาะโรคติดต่อสำคัญ โรคติดต่ออุบัติใหม่และภัยสุขภาพ (28 หน่วยงาน) . 130.6907 ล้านบาท (3.88%) 2.4 พัฒนาระบบบริหารจัดการและการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินทางสาธารณสุข (1 ระบบ)437.6785 ล้านบาท (13%) 2.5 พัฒนา ประสาน สนับสนุนและประเมินศักยภาพ ระบบ กลไก เครือข่ายการ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในและระหว่างประเทศ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล (1,566 หน่วยงาน) 659.3404 ล้านบาท (19.58%) ***ข้อมูลหลังปรับลดขั้นกรรมาธิการ_V6
เพิ่มเติมการดำเนินงาน ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 1 เครือข่าย หมายถึง หน่วยงานหรือองค์กรภายนอกกรมควบคุมโรค • ระดับพื้นที่หมายถึง กลุ่มบุคคล หรือองค์กรที่อยู่ภายในจังหวัดและหรือ กทม. - จังหวัด: เน้นการบริหารจัดการในระดับจังหวัด สสจ. รพศ. รพท. กทม. และหน่วยงานอื่น ๆ รวมทั้งสื่อมวลชน - อำเภอ: เน้นความเข้มแข็งการจัดการงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเชิงบูรณาการในระดับอำเภอ ประกอบด้วย สสอ.รพช. ทีม SRRT ทุกระดับ รพสต. สถาบันการศึกษา ท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐและเอกชนอื่น ๆ ภาคประชาชน • ระดับชาติหมายถึง องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนในระดับนโยบาย บทบาท สนับสนุน เพื่อขับเคลื่อนให้หน่วยงานภายใต้สังกัดไปดำเนินการ โดยอาจอยู่ในรูปของคณะกรรมการ คณะทำงาน แผนยุทธศาสตร์หรือมี MOU ที่ชัดเจน • ระดับนานาชาติ หมายถึง องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีบทบาท เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพระหว่าง แต่ละระดับแบ่งเป็น 5 ประเภท ได้แก่ เครือข่ายภาคราชการ (ใน/นอกสาธารณสุข) ภาคเอกชน NGO สื่อมวลชน และท้องถิ่นและประชาชน 1
เพิ่มเติมการดำเนินงาน ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 1 การนับเครือข่าย : ยังคงใช้เกณฑ์เดิมของปี 2553 1. วิเคราะห์ปัญหา วางแผนร่วมกับเครือข่ายเพื่อกำหนดเป้าหมายการดำเนินงาน (เช่น เป้าหมายพื้นที่ , จำนวน , ประเด็นที่ดำเนินการ , กลุ่มประชากร) และการวัดผลความสำเร็จร่วมกัน 2. ประสานงาน และ/หรือ สื่อสาร ประชุมชี้แจง ถ่ายทอดแนวทาง หรืออบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรของหน่วยงานและเครือข่าย 3. ดำเนินกิจกรรมร่วมกันกับเครือข่าย 4. นิเทศ ติดตาม / ประเมินผล / สำรวจความพึงพอใจของหน่วยงานเครือข่าย จัดทำรายงานและแจ้งข้อมูลย้อนกลับ 5. สรุปบทเรียนร่วมกันกับเครือข่ายเพื่อนำไปปรับปรุงกระบวนการพัฒนาภาคีเครือข่าย และวางแผนปฏิบัติงานในปีต่อไป 1
เพิ่มเติมการดำเนินงาน ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 1 1. เพิ่มเติมการจัดเก็บข้อมูล แผนและผลการพัฒนาเครือข่าย (แบบฟอร์ม 3) - ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 ระดับสำนักงานป้องกันควบคุมโรค • ตัวชี้วัดที่ 1.1.4 ระดับสำนัก สถาบัน โดย แจกแจงเป็นหน่วยงานย่อยภายใต้เครือข่ายแต่ละระดับ แยกประเภทเครือข่าย ให้แนบ File กับรายงาน SAR **เนื่องจากมีตัวชี้วัดคำรับรองฯ ระดับความสำเร็จการบรรลุผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ ซึ่งทุกหน่วยงานต้องส่งข้อมูลสนับสนุนให้กรมฯ ดังนั้นเพื่อลดภาระของหน่วยงานในการรายงานตัวชี้วัดดังกล่าวจึงได้บูรณาการให้อยู่ในตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่1** 1
เพิ่มเติมการดำเนินงาน ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ 1 2. ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 ระดับสำนักงานป้องกันควบคุมโรค รวบรวมข้อมูลผลการประเมิน Self Assessment ของอำเภอ ทั้ง 2 รอบ และบันทึกข้อมูลลงในระบบ (web base) 1
หารือเกณฑ์การประเมินองค์ประกอบการบริหารจัดการที่สนับสนุนอำเภอ...เข้มแข็ง ของจังหวัด 1