1 / 50

ภาพรวม แนวโน้ม และเครื่องมือทางการคลัง

ภาพรวม แนวโน้ม และเครื่องมือทางการคลัง. โดย ดร. สมชัย สัจจพงษ์ อธิบดีกรมศุลกากร 23 สิงหาคม 2553. เนื้อหาการบรรยาย. ภาพรวมนโยบายการคลัง. การบริหารรายได้. การบริหารรายจ่าย. การบริหารการคลังด้านอื่นๆ. ฐานะการคลังในปัจจุบัน. แนวโน้มและทิศทางของนโยบายการคลัง. ภาพรวมนโยบายการคลัง.

Download Presentation

ภาพรวม แนวโน้ม และเครื่องมือทางการคลัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาพรวม แนวโน้ม และเครื่องมือทางการคลัง โดย ดร. สมชัย สัจจพงษ์ อธิบดีกรมศุลกากร 23 สิงหาคม 2553

  2. เนื้อหาการบรรยาย ภาพรวมนโยบายการคลัง การบริหารรายได้ การบริหารรายจ่าย การบริหารการคลังด้านอื่นๆ ฐานะการคลังในปัจจุบัน แนวโน้มและทิศทางของนโยบายการคลัง

  3. ภาพรวมนโยบายการคลัง

  4. นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายการคลัง นโยบายการเงิน นโยบายการค้าระหว่างปท. เครื่องมือทางการเงิน เครื่องมือทางการคลัง เครื่องมือทางการค้า ระหว่างประเทศ รายได้ รายจ่าย ทรัพย์สิน หนี้สิน สินเชื่อ ปริมาณเงิน การนำเข้า-ส่งออก C + I + G + (X - M) ผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศ (GDP)

  5. ผลสะท้อนจากด้านเศรษฐกิจและสังคมกลับสู่ผลสะท้อนจากด้านเศรษฐกิจและสังคมกลับสู่ การกำหนดนโยบายการคลัง ผลสะท้อนจากด้านเศรษฐกิจและสังคมกลับสู่ การกำหนดนโยบายการคลัง การกำหนดนโยบายการคลัง (ขยายตัว/หดตัว/ปกติ) การจัดทำงบประมาณ (สมดุล/ขาดดุล/เกินดุล) การจัดหารายรับ การจัดทำงบประมาณ เงินคงคลัง เงินคงคลัง เงินคงคลัง บัญชีที่ 1 บัญชีที่ 2 (รับเงิน) (จ่ายเงิน) การอนุมัติงบประมาณ รายรับเงินงบประมาณ การบริหารงบประมาณ รายจ่ายงบประมาณ รายรับเงินนอกงบประมาณ รายจ่ายเงินนอกงบประมาณ สินค้าและบริการสาธารณะ ผลต่อเศรษฐกิจและสังคม ผลสะท้อนจากด้านเศรษฐกิจและสังคมกลับสู่ การกำหนดนโยบายการคลัง ผลสะท้อนจากด้านเศรษฐกิจและสังคมกลับสู่ การกำหนดนโยบายการคลัง

  6. นโยบายการคลัง • นโยบายรายได้ (ภาษีและไม่ใช่ภาษี) • การกำหนด การเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขอัตราภาษีอากร และฐาน ภาษีอากร และรายได้อื่นๆ • นโยบายรายจ่ายสาธารณะ • การกำหนดวงเงินงบประมาณรายจ่าย การอนุมัติจัดสรรงบประมาณรายจ่าย และการบริหารการเบิกจ่าย • นโยบายหนี้สิน (หนี้สาธารณะ) • การจัดหาแหล่งเงินกู้ และการบริหารหนี้สาธารณะ (ทั้งระยะสั้นและยาว) • นโยบายทรัพย์สิน (เงินคงคลัง ทรัพย์สินอื่นๆ) • การบริหารเงินคงคลังตามกฎหมาย และการบริหารหลักทรัพย์

  7. การใช้นโยบายการคลังกับผลต่อระบบเศรษฐกิจการใช้นโยบายการคลังกับผลต่อระบบเศรษฐกิจ GDP = C + I + G + (X –M) นโยบาย เป้าหมาย วิธีการ ลดความต้องการใช้จ่ายภายในประเทศ ทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เพื่อชะลอความร้อนแรงของเศรษฐกิจ • แบบหดตัว • จัดทำงบประมาณรายจ่าย • แบบเกินดุล • จัดเก็บภาษีมากขึ้น • แบบขยายตัว เพิ่มความต้องการใช้จ่ายภายในประเทศ เพื่อทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น • จัดทำงบประมาณรายจ่าย • แบบขาดดุล • ลดภาษี

  8. กรอบการบริหารนโยบายการคลังของรัฐบาลไทยกรอบการบริหารนโยบายการคลังของรัฐบาลไทย • รายได้ : กระทรวงการคลัง (กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ และสำนักงาน คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ) • รายจ่าย : สำนักงบประมาณ และกระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) • หนี้สาธารณะ : กระทรวงการคลัง (สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ) • เงินคงคลัง : กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง)

  9. การบริหารรายได้

  10. โครงสร้างรายได้รัฐบาลโครงสร้างรายได้รัฐบาล หน่วย : ร้อยละ

  11. โครงสร้างรายได้ภาษีของรัฐบาลโครงสร้างรายได้ภาษีของรัฐบาล หน่วย : ร้อยละ

  12. โครงสร้างรายได้รัฐบาลโครงสร้างรายได้รัฐบาล

  13. ฐานการจัดเก็บภาษีของรัฐบาลฐานการจัดเก็บภาษีของรัฐบาล Y = C + I + G + (X - M) ฐานจากรายได้ • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • ภาษีเงินได้นิติบุคคล • ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ฐานจากการบริโภค • ภาษีมูลค่าเพิ่ม • ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ • ภาษีสรรพสามิต ฐานจากการค้า ระหว่างประเทศ • การนำเข้าและส่งออก

  14. ความสัมพันธ์ของภาวะเศรษฐกิจกับรายได้ความสัมพันธ์ของภาวะเศรษฐกิจกับรายได้ • การประมาณการรายได้รัฐบาล คือ การจัดทำเป้าหมายทางด้านรายได้รัฐบาลที่กำหนดไว้ในเอกสารงบประมาณ • การคาดการณ์รายได้รัฐบาล คือ การจัดทำเป้าหมายทางด้านการจัดเก็บรายได้ที่มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงไป การจัดเก็บรายได้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ปรับ การคาดการณ์รายได้ • ภาวะเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป • - นโยบายรัฐบาล • - แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงของรายได้ที่ผ่านมา

  15. การเปลี่ยนแปลงรายได้รัฐบาลเกิดจากอะไรการเปลี่ยนแปลงรายได้รัฐบาลเกิดจากอะไร • การขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจ - ในภาวะเศรษฐกิจขาขึ้น รายได้ของรัฐบาลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น - ในภาวะเศรษฐกิจขาลง รายได้ของรัฐบาลมีแนวโน้มลดลง • นโยบายของรัฐบาล - การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี - การยกเว้น ลดหย่อนภาษี • การบริหารการจัดเก็บภาษีของหน่วยจัดเก็บภาษี - การขยายฐานภาษี - การเร่งรัดการจัดเก็บภาษี

  16. การบริหารรายจ่าย

  17. กระบวนการของรายจ่ายรัฐบาลกระบวนการของรายจ่ายรัฐบาล คณะรัฐมนตรี อนุมัติและ เสนอสภาฯ รัฐบาล ดำเนินการใช้จ่าย ตามกฎหมาย ผลสัมฤทธิ์ จากการใช้จ่าย การจัดทำ งบประมาณ การอนุมัติ งบประมาณ การบริหาร งบประมาณ การควบคุมและ ตรวจสอบ งบประมาณ การกำหนดนโยบาย งบประมาณประจำปี การพิจารณาของ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การขออนุมัติงบประมาณ โดยส่วนราชการ การจัดทำรายละเอียด งบประมาณรายจ่าย และประมาณการรายได้ การพิจารณาของ สมาชิกวุฒิสภา การพิจารณาอนุมัติ งบประมาณของ สำนักงบประมาณ การรายงานผลการใช้จ่าย ต่อสำนักงบประมาณ การยกร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ การประกาศใช้เป็น กฎหมาย การเบิกจ่ายงบประมาณ โดยกรมบัญชีกลาง / GFMIS การตรวจบัญชี ของ สตง.

  18. โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายและผลกระทบต่อเศรษฐกิจโครงสร้างงบประมาณรายจ่ายและผลกระทบต่อเศรษฐกิจ รายจ่ายประจำ (70-85%) การบริโภค การลงทุน รายจ่ายลงทุน (12-25%) รายจ่ายชำระคืนต้นเงินกู้ (3-5%)

  19. การบริหารการคลังด้านอื่นๆการบริหารการคลังด้านอื่นๆ

  20. การก่อหนี้และการบริหารหนี้สาธารณะการก่อหนี้และการบริหารหนี้สาธารณะ • องค์ประกอบของหนี้สาธารณะ • หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง • หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่มิใช่สถาบันการเงิน • หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินที่กระทรวงการคลังค้ำประกัน • หนี้กองทุนฟื้นฟูฯ • การก่อหนี้และบริหารหนี้สาธารณะรับผิดชอบโดย สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะกระทรวงการคลัง

  21. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างของประเทศไทยยอดหนี้สาธารณะคงค้างของประเทศไทย

  22. การบริหารเงินคงคลัง • เงินคงคลัง – ดำเนินการโดยกรมบัญชีกลาง • ในทางปฏิบัติ รัฐบาลควรมีเงินคงคลังเพียงพอต่อการใช้จ่าย • รัฐบาลจำเป็นต้องกู้เงินเพื่อชดเชยในกรณีที่มีเงินคงคลังไม่ เพียงพอ

  23. การเคลื่อนไหวของเงินคงคลัง ปี 2532-2552 ช่วงก่อนวิกฤติเศรษฐกิจ ช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ ช่วงเศรษฐกิจ ฟื้นตัว

  24. การใช้จ่ายจากเงินคงคลังการใช้จ่ายจากเงินคงคลัง • รายการจ่ายที่มีการอนุญาตให้จ่ายเงินได้แล้ว ตามกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ แต่เงินที่ตั้งไว้มีจำนวนไม่พอจ่ายและพฤติการณ์เกิดขึ้นให้มีความจำเป็นต้องจ่ายโดยเร็ว • มีกฎหมายใดๆ ที่กระทำให้ต้องจ่ายเงิน เพื่อปฏิบัติตามกฎหมายนั้นๆ และมีความจำเป็นต้องจ่ายโดยเร็ว • มีข้อผูกพันกับรัฐบาลต่างประเทศหรือสถาบันการเงินระหว่างประเทศที่กระทำให้ต้องจ่ายเงิน และมีความจำเป็นต้องจ่ายโดยเร็ว • เพื่อซื้อคืนหรือไถ่ถอนพันธบัตรของรัฐบาลหรือตราสารเงินกู้ของกระทรวงการคลัง หรือชำระหนี้ตามสัญญากู้ที่กระทรวงการคลังเป็นผู้กู้ ทั้งนี้ ตามจำนวนที่รัฐมนตรีเห็นสมควร • เพื่อซื้อเงินตราต่างประเทศ พันธบัตรของรัฐบาลต่างประเทศ หรือหลักทรัพย์ที่มั่นคงในต่างประเทศที่ไม่ใช่หุ้น ในสกุลเงินตราที่จะต้องชำระหนี้ที่กระทรวงการคลังเป็นผู้กู้ และในวงเงินไม่เกินจำนวนหนี้ที่ถึงกำหนดชำระในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการชำระหนี้เมื่อถึงกำหนด

  25. ปัจจัยที่ส่งผลต่อดุลเงินสดและเงินคงคลังปัจจัยที่ส่งผลต่อดุลเงินสดและเงินคงคลัง • การจัดเก็บรายได้ที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย • การเบิกจ่ายเงินงบประมาณจากปีก่อนที่เหลื่อมมาจำนวนมาก • การนำเงินคงคลังมาใช้จ่ายในกรณีต่างๆ • การตั้งงบประมาณชดใช้เงินคงคลังในแต่ละปีเป็นการตั้งตัวเลขตามบัญชีแต่ไม่ได้มีการชดใช้จริง (ก่อนรัฐธรรมนูญปี 2550 มีผลบังคับใช้)

  26. แนวทางการบริหารรัฐวิสาหกิจแนวทางการบริหารรัฐวิสาหกิจ • เพิ่มบทบาทในการเป็นเครื่องมือการพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รวมทั้งบทบาทในการรับผิดชอบต่อสังคม • เร่งการเบิกจ่ายงบลงทุน • ตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ • โครงสร้างพื้นฐาน • พลังงาน ที่อยู่อาศัย ฯลฯ • สนับสนุนแหล่งสินเชื่อในด้านต่าง ๆ • เพิ่มบทบาทในการรับผิดชอบต่อสังคม • เป็นแหล่งรายได้ที่ยั่งยืนของรัฐบาล

  27. แนวทางการบริหารที่ราชพัสดุแนวทางการบริหารที่ราชพัสดุ • เพื่อการกระจายความเจริญสู่ท้องถิ่น • เพื่อสร้างความเข้มแข็งของสังคมในระดับฐานราก • เพื่อสนับสนุนการผลิตและการลงทุน • เพื่อสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน

  28. ฐานะการคลังในปัจจุบันฐานะการคลังในปัจจุบัน

  29. โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2553

  30. ผลการจัดเก็บรายได้ 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2553 หน่วย : ล้านบาท

  31. การเบิกจ่ายงบประมาณ 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2553 หน่วย: ล้านบาท • 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2553 สามารถเบิกจ่ายได้คิดเป็นร้อยละ 78.9 ของวงเงินงบประมาณ (1,700,000 ล้านบาท) • รายจ่ายประจำ เบิกจ่ายได้ร้อยละ 80.8 ของวงเงิน (1,473,710 ล้านบาท) • รายจ่ายลงทุนเบิกจ่ายได้ร้อยละ 66.7 ของวงเงิน (226,290 ล้านบาท) 31

  32. ฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสด 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2553 หน่วย: ล้านบาท ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง และกรมบัญชีกลาง

  33. การจัดสรรเงินภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (SP2)

  34. แผนการระดมทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (SP2) 1. แผนการระดมทุนสำหรับโครงการที่รัฐรับภาระการลงทุน (53-55) งบประมาณที่คาดว่าจะได้รับจัดสรร 170 พลบ. เงินกู้ใน / ต่างประเทศตามกฎหมายปกติ 208 พลบ. PPPs 28 พลบ. วงเงินที่ต้องจัดหาเพิ่มเติมโดยกฎหมายพิเศษ (พรก./พรบ) 704 พลบ. รวม 1,110 พลบ. 2. แผนการระดมทุนสำหรับโครงการที่รัฐวิสาหกิจรับภาระการลงทุน (53-55) รายได้รัฐวิสาหกิจ 179 พลบ. เงินกู้ใน / ต่างประเทศ 142 พลบ. รวม 321 พลบ. รวม 1+2 1,431 พลบ.

  35. ผลการเบิกจ่ายโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 หน่วย : ล้านบาท

  36. โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2554

  37. แนวโน้มและทิศทางของนโยบายการคลังแนวโน้มและทิศทางของนโยบายการคลัง

  38. สถานการณ์และเงื่อนไข • ความผันผวนของเศรษฐกิจ • ปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำ • ปัญหาผู้สูงอายุ • นโยบายรัฐสวัสดิการ • หนี้สาธารณะที่อยู่ในระดับสูง • การกระจายอำนาจทางการคลัง

  39. ความผันผวนของเศรษฐกิจความผันผวนของเศรษฐกิจ

  40. ปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำ ช่องว่างความยากจน ความรุนแรงปัญหาความยากจน เส้นความยากจน สัดส่วนคนจน และจำนวนคนจนช่วงปี 2537-2550

  41. ปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำ การกระจายรายได้และความยากจนด้านรายได้ช่วงปี 2537-2550

  42. ปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำ สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (GINI coefficient) ของรายได้จำแนกตามภาค และจำแนกตามเขตพื้นที่ ปี 2537-2550

  43. ปัญหาผู้สูงอายุ การเข้าสู่สังคมของคนชรา (Aging Society) 2553 2593

  44. ปัญหาผู้สูงอายุ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร

  45. นโยบายรัฐสวัสดิการ

  46. นโยบายรัฐสวัสดิการ นโยบายรัฐสวัสดิการ

  47. รายจ่ายชำระต้นเงินกู้และดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นตามระดับหนี้สาธารณะรายจ่ายชำระต้นเงินกู้และดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นตามระดับหนี้สาธารณะ

  48. การกระจายอำนาจทางการคลังการกระจายอำนาจทางการคลัง

  49. ความท้าทาย • กรอบความยั่งยืนทางการคลัง • กรอบกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

  50. ความท้าทาย • การปฏิรูปทางการคลัง • รายได้: การขยายฐานภาษีไปสู่รายได้ประเภทใหม่ เช่น ภาษีสิ่งแวดล้อม และ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เป็นต้น • รายจ่าย: การควบคุมอัตราการเพิ่มของรายจ่ายภาครัฐให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายควบคู่กันไปด้วย • การปฏิรูปเชิงสถาบัน: สามารถดำเนินการได้ทันที เนื่องจากไม่กระทบต่อระดับอุปสงค์โดยรวมของประเทศ เช่น การผลักดันพระราชบัญญัติการเงินการคลังภาครัฐ พ.ศ. .... เป็นต้น

More Related