450 likes | 655 Views
ทิศทางการจัดการความรู้ของ ทร. น.อ.ธีรกุล กาญจนะ ผอ.กจก.สปช.ทร./ เลขาฯ คณะอนุกรรมการการจัดการความรู้ ทร. What is Knowledge?.
E N D
ทิศทางการจัดการความรู้ของ ทร. น.อ.ธีรกุล กาญจนะ ผอ.กจก.สปช.ทร./เลขาฯ คณะอนุกรรมการการจัดการความรู้ ทร.
What is Knowledge? ความรู้ คือ บทสรุปของความเข้าใจ เนื้อหาเป็นความจริง ผ่านการพิสูจน์และทดลอง สามารถตั้งเป็นกฎ นำไปปฏิบัติงานได้จริง หรือ สามารถนำไปประกอบการตัดสินใจ รวมทั้งสามารถทำนายผลได้ What is knowledge Management? การจัดการความรู้ คือ การดึงเอาความรู้ที่กระจัดกระจาย ฝังอยู่ทั่วไปภายในองค์กร ออกมารวบรวม และแบ่งกลุ่ม จัดเก็บให้เป็นองค์ความรู้ขององค์กร เพื่อเป้าหมายในการพัฒนาสู่ องค์กรแห่งการเรียนรู้ต่อไป http://info.navy.mi.th/onc
นโยบายทั่วไป ส่งเสริม ปรับปรุง พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้แนวความคิดและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ามาบริหารจัดการ โดยเน้นคุณภาพของงานเป็นสำคัญและลดปริมาณงานที่ไม่จำเป็นลง เพื่อนำงบประมาณไปพัฒนาด้านสวัสดิการ กำลังพล และยุทโธปกรณ์หลักของกองทัพเรือ
นโยบายด้านกำลังพล สนับสนุนให้ทุกหน่วยมีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อช่วยในการพัฒนาขีดความสามารถของกำลังพล
นโยบายด้านงบประมาณ ส่งเสริมองค์ความรู้การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของกำลังพล อันจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงค่านิยมและวัฒนธรรมขององค์กรที่เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมพร้อมกับพัฒนาโครงสร้างการบริหารงานให้มีมาตรฐานเพื่อให้เกิดผลงานที่มีคุณภาพและเป็นมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของบุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์กร
1 แนวคิด แนวคิด และการดำเนินงานในช่วงสองปีที่ผ่านมา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 Good Governance Efficiency Value-for-money Effectiveness Quality Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 Participation Transparency Responsiveness Decentralization แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550) Rule of law http://info.navy.mi.th/onc
1 แนวคิด แนวคิด และการดำเนินงานที่ผ่านมา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประสิทธิภาพและความคุ้มค่า พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ประสิทธิผล คุณภาพ ความรับผิดชอบต่อผลของงาน แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550) การมีส่วนร่วม ความโปร่งใส การสนองตอบ การกระจายอำนาจ แผนบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2551) กฎ ระเบียบ http://info.navy.mi.th/onc
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระบบราชการไทย • การปรับโครงสร้างระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารงานของกลุ่มภารกิจ และ การทำงานแบบเมตริกซ์ ) • การจัดองค์กรรูปแบบใหม่ ( องค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ) • การสอบทานการใช้จ่ายเงิน และบทบาทภารกิจ • การเปิดโอกาสให้เอกชน/องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการเข้ามาแข่งขันในการให้บริการสาธารณะ(Contestability) • การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม และการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการถือครองทรัพย์สินของหน่วยงานในภาครัฐ (Capital Charges) ปรับบทบาท ภารกิจและขนาด ให้มีความเหมาะสม • การมีส่วนร่วมของประชาชน • การตรวจสอบภาคประชาชน • ( People’s Audit ) • Lay Board • การสร้างเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ เ เปิดระบบ ราชการ สู่กระบวนการ ประชาธิปไตย การพัฒนา ระบบราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น • มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ • การออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ • การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และ ระเบียบขั้นตอนที่เป็นอุปสรรค • การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ • (e- Service) • call center 1111 • ศูนย์บริการร่วม (Service Link) Government Counter Services • การวางยุทธ์ศาสตร์และการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ • การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและ การประเมินผลการดำเนินงาน • (Performance Scorecard) • มาตรการเสริมสร้างแรงจูงใจตามผลงาน ยกระดับ ขีดความสามารถ และมาตรฐาน การทำงาน ให้อยู่ระดับสูง • การบริหารการเปลี่ยนแปลง • ผู้นำการเปลี่ยนแปลง • การเรียนรู้ผ่านสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์ • การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ : I AM • READY • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ • (GFMIS) • นักบริหารที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ • นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ • การปรับปรุงเงินเดือนและค่าตอบแทน
4 การ การ บริหารรัฐกิจที่เน้นผลสัมฤทธิ์ ติดตาม ประเมินผล Strategic Control นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ Strategy Implementation วางยุทธศาสตร์ Strategy Formulation • กำกับติดตามและ • ประเมินผล • ทบทวนสถานการณ์ • เพื่อวางยุทธศาสตร์ ใหม่ • วิสัยทัศน์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • กลยุทธ์ • Strategy Map แผนปฏิบัติการ • การปรับแต่ง • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • คน กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ http://info.navy.mi.th/onc
รัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1: การขจัดความยากจน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2: การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3: การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลย์และแข่งขันได้ ส่วนราชการ/จังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4: การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5: การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6: การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส่วนราชการ/จังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7: การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม แผนปฏิบัติราชการ 1 ปี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8: การรักษาความมั่นคงของรัฐ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 9: การรองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตรโลก http://info.navy.mi.th/onc
องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ Strategy-focused Organization การบริหารกระบวนการ ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ ประสิทธิภาพ efficiency การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management คุณภาพ quality การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม เพิ่มความไว้วางใจ การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building ทุนมนุษย์ เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ &ทุนความรู้ ทุนองค์กร http://info.navy.mi.th/onc
Objectives Objectives Objectives Initiatives Initiatives Initiatives Measures Measures Measures Targets Targets Targets Balanced Scorecard Financial “To succeed financially, how should we appear to our shareholders?” Customer Internal Business Process “To achieve our vision,how should we appear to our customers?” “To satisfy our shareholders and customers, what business processes must we excel at?” Vision and Strategy Objectives Measures Initiatives Targets Learning and Growth “To achieve our vision,how will we sustain our ability to change and improve?” http://info.navy.mi.th/onc
มิติการประเมินผลฯ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4 ด้าน (120%) Financial Perspective มิติที่ 1: มิติด้านประสิทธิผล ส่วนราชการแสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด มิติที่ 3: มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการแสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการเช่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดระยะเวลาการให้บริการ เป็นต้น มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ส่วนราชการแสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการแสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์การ ได้แก่ การพัฒนาระบบบริหารความรู้ การจัดการสารสนเทศ การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง การจัดทำแผนพัฒนากฎหมาย และการดำเนินงานตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ เป็นต้น Customer Perspective Learning & Growth Perspective http://info.navy.mi.th/onc
ตัวอย่าง ............................................................................. Vision Strategic Themes (Issues) Agenda / Focusing Areas ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก Detroit of Asia King & Queen of Fruit Entertainment Complex ……… Values Strategy Map (logic model) Corporate Scorecard Action Plan Perspectives Objectives Measurement Targets Initiatives Budget Run the Business Financial ประสิทธิผล Serve the Customer Customer คุณภาพ Manage resources Internal work process ประสิทธิภาพ Build Capacity Learning & Growth พัฒนาองค์กร Business Unit Scorecard http://info.navy.mi.th/onc Team / Individual Scorecard
ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการจัดความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ ( คณะกรรมการโครงการศึกษาฯ และ นขต.ทร.) มิติที่ 1 ประสิทธิผลตามแผนการปฏิบัติราชการ KPI 3 ความสำเร็จระดับ ทร. KPI 1ความสำเร็จระดับ กห. มิติที่ 2 คุณภาพการให้บริการ KPI 5ความพึงพอใจ KPI 7.1 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร KPI 7.2การป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต KPI 6การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม มิติที่ 3 ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ KPI 9ประหยัดพลังงาน KPI 11การจัดทำต้นทุน KPI 8การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน KPI 10ลดระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร KPI 12การจัดการความรู้ KPI 14การจัดการสารสนเทศ KPI 16การจัดการองค์การ KPI 13การจัดการทุนมนุษย์ http://info.navy.mi.th/onc
คณะกรรมการโครงการศึกษาและการจัดความรู้ของ ทร.(รอง เสธ.ทร.เป็นประธาน) คณะอนุกรรมการโครงการศึกษา(จก.กพ.ทร.เป็นประธาน) คณะอนุกรรมการการจัดการความรู้(รอง ปช.ทร. เป็นประธาน) โครงสร้างการจัดการความรู้ของ ทร. http://info.navy.mi.th/onc
คณะกรรมการโครงการศึกษาและการจัดความรู้ของ ทร.(รอง เสธ.ทร.เป็นประธานฯ) คณะอนุกรรมการโครงการศึกษา(จก.กพ.ทร.เป็นประธานฯ) คณะอนุกรรมการการจัดการความรู้(รอง ปช.ทร. เป็นประธานฯ) การดำเนินการขั้นที่ ๑ การจำแนกองค์ความรู้ แนวทางการดำเนินงานให้ฝ่ายเลขาฯร่วมกันประชุมจำแนกองค์ความรู้ อนุมัติเมื่อ ๑๙ ธ.ค.๔๙ จัดการประชุมระดมความคิดเห็น เมื่อ ๑๒ ม.ค.๕๐ http://info.navy.mi.th/onc
การดำเนินการขั้นที่ ๓ การจัดทำแผนการจัดการความรู้ คณะอนุกรรมการฯ ได้จัดทำแผนการจัดการความรู้ทั้ง ๒ องค์ความรู้ ๑. การบังคับใช้กฎหมายทะเล และกฎหมายที่ให้อำนาจทหารเรือ ๒. เทคโนโลยีในด้านต่างๆ ผบ.ทร. อนุมัติเมื่อ ๘ ก.พ.๕๐ แผนการจัดการความรู้ของ ทร. ประจำปี ๕๐ http://info.navy.mi.th/onc
แผนการจัดการความรู้ที่ ๑ แผนการจัดการความรู้ที่ ๒ หน่วยดำเนินงาน กภ.๑ กร. ทรภ.๒ ทรภ.๓ หน่วยดำเนินงาน สบ.ทร. พธ.ทร. หน่วยสนับสนุน สรส. หน่วยสนับสนุน อร. กร. สรส. http://info.navy.mi.th/onc
การจัดการบรรยายการจัดการความรู้ให้ KM Team เมื่อ ๑๓-๑๔ มิ.ย.๕๐ http://info.navy.mi.th/onc
การจัดจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเชิญวิทยากรจาก กรมราชทัณฑ์ เมื่อ ๔ ก.ค.๕๐ http://info.navy.mi.th/onc
การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของ กภ.๑ กร. ทรภ.๒ และ ทรภ.๓ http://info.navy.mi.th/onc
การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของ สบ.ทร. และ พธ.ทร. http://info.navy.mi.th/onc
การนำเสนอผลการจัดการความรู้ แผนที่ ๑ http://info.navy.mi.th/onc
การนำเสนอผลการจัดการความรู้ แผนที่ ๒ http://info.navy.mi.th/onc
ลักษณะสำคัญขององค์กร เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์กร 7. ผลลัพธ์การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการกระบวนการ 4. การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ http://info.navy.mi.th/onc
ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการกับPMQA พรฎ. 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ http://info.navy.mi.th/onc
ความสัมพันธ์ของการพัฒนาระบบราชการกับPMQAความสัมพันธ์ของการพัฒนาระบบราชการกับPMQA คำรับรองการปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี การควบคุมภายใน Risk Management แผนบริหารการเปลี่ยนแปลง Knowledge Management Competency HR Scorecard http://info.navy.mi.th/onc
แนวทางการดำเนินการ ปี งป.๕๑ • สนับสนุนการดำเนินการจัดการความรู้ต่อเนื่อง http://info.navy.mi.th/onc
แนวทางการดำเนินการ ปี งป.๕๑ • สนับสนุนการดำเนินการจัดการความรู้ต่อเนื่อง • ให้ทุกหน่วยงานเริ่มดำเนินการจัดการความรู้ภายในหน่วยตนเอง http://info.navy.mi.th/onc
แนวทางการดำเนินการ ปี งป.๕๑ • สนับสนุนการดำเนินการจัดการความรู้ต่อเนื่อง • ให้ทุกหน่วยงานเริ่มดำเนินการจัดการความรู้ภายในหน่วยตนเอง • กำหนดหน่วยนำร่องดำเนินการจัดการความรู้ในองค์ความรู้เพิ่มเติมจากการดำเนินการในปี ๕๐ อีก ๒ องค์ความรู้ http://info.navy.mi.th/onc
แนวทางการดำเนินการ ปี งป.๕๑ • สนับสนุนการดำเนินการจัดการความรู้ต่อเนื่อง • ให้ทุกหน่วยงานเริ่มดำเนินการจัดการความรู้ภายในหน่วยตนเอง • กำหนดหน่วยนำร่องดำเนินการจัดการความรู้ในองค์ความรู้เพิ่มเติมจากการดำเนินการในปี ๕๐ อีก ๒ องค์ความรู้ • พัฒนาระบบสารสนเทศด้านการจัดการความรู้ของ ทร. ในภาพรวม http://info.navy.mi.th/onc
แนวทางการดำเนินการ ปี งป.๕๑ • สนับสนุนการดำเนินการจัดการความรู้ต่อเนื่อง • ให้ทุกหน่วยงานเริ่มดำเนินการจัดการความรู้ภายในหน่วยตนเอง • กำหนดหน่วยนำร่องดำเนินการจัดการความรู้ในองค์ความรู้เพิ่มเติมจากการดำเนินการในปี ๕๐ อีก ๒ องค์ความรู้ • พัฒนาระบบสารสนเทศด้านการจัดการความรู้ของ ทร. ในภาพรวม • คณะอนุกรรมการฯดำเนินการปรับแต่งแนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ในภาพรวมให้ชัดเจน และสอดคล้องกับ PMQA http://info.navy.mi.th/onc
แนวทางการดำเนินการ ปี งป.๕๑ • สนับสนุนการดำเนินการจัดการความรู้ต่อเนื่อง • ให้ทุกหน่วยงานเริ่มดำเนินการจัดการความรู้ภายในหน่วยตนเอง • กำหนดหน่วยนำร่องดำเนินการจัดการความรู้ในองค์ความรู้เพิ่มเติมจากการดำเนินการในปี ๕๐ อีก ๒ องค์ความรู้ • พัฒนาระบบสารสนเทศด้านการจัดการความรู้ของ ทร. ในภาพรวม • คณะอนุกรรมการฯดำเนินการปรับแต่งแนวทางการดำเนินการจัดการความรู้ในภาพรวมให้ชัดเจน และสอดคล้องกับ PMQA • ให้การจัดการความรู้เป็นสนับสนุนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ http://info.navy.mi.th/onc