710 likes | 967 Views
หลักสูตร KKU Assessor Training. โดย กฤษณา สุขบุญญสถิตย์ ผู้ตรวจประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. กำหนดการ : วันที่ 1 ของการอบรม. กำหนดการ : วันที่ 2 ของการอบรม. ผู้ตรวจประเมินรางวัล. วัตถุประสงค์ : เพื่อตรวจประเมินรายงานผลการดำเนินการของแต่ละหน่วยงานอย่างยุติธรรมและถูกต้องที่สุด
E N D
หลักสูตรKKU Assessor Training โดย กฤษณา สุขบุญญสถิตย์ ผู้ตรวจประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
กำหนดการ : วันที่ 1 ของการอบรม
กำหนดการ : วันที่ 2 ของการอบรม
ผู้ตรวจประเมินรางวัล • วัตถุประสงค์ : เพื่อตรวจประเมินรายงานผลการดำเนินการของแต่ละหน่วยงานอย่างยุติธรรมและถูกต้องที่สุด • ผลของการตรวจประเมินสามารถใช้เป็นแนวทาง (Roadmap) สำหรับการปรับปรุงการดำเนินงานและผลการดำเนินการของหน่วยงาน
ความสามารถพิเศษของผู้ตรวจประเมินรางวัลความสามารถพิเศษของผู้ตรวจประเมินรางวัล ความสามารถในการดำเนินการตรวจประเมินที่มีคุณภาพ • การตีความเกณฑ์ • ตรวจประเมินความครอบคลุมของกระบวนการและผลลัพธ์ที่เป็นไปตามข้อกำหนดของเกณฑ์ • ตรวจประเมินรายงานผลการดำเนินการ • ใช้ระบบการให้คะแนนในการประเมินความก้าวหน้าของระบบ
หน้าที่ในการตรวจประเมิน 3 ประการ • เรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยงาน –จากลักษณะสำคัญขององค์กร • เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางและผลลัพธ์ของหน่วยงาน– จากข้อกำหนดของเกณฑ์ • เรียนรู้เกี่ยวกับระดับความสมบูรณ์ของหน่วยงาน – จากแนวทางการให้คะแนน
การดำเนินการที่เป็นเลิศการดำเนินการที่เป็นเลิศ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ จัดทำขึ้นเพื่อช่วยให้องค์กรใช้แนวทางที่บูรณาการในการจัดการผลการดำเนินการซึ่งจะให้ผลดังนี้ • การส่งมอบคุณค่าที่ดีขึ้นเสมอให้แก่ลูกค้า ซึ่งจะส่งผลต่อความสำเร็จในตลาด • การปรับปรุงประสิทธิผลและความสามารถขององค์กรโดยรวม • การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล
อ่านข้อกำหนดของหัวข้ออ่านข้อกำหนดของหัวข้อ ตรวจสอบผล ประโยชน์ทับซ้อน เลือก Key Factor 4-6 ปัจจัย วิเคราะห์รายงานฯหัวข้อนั้น ทบทวนเกณฑ์ อ่านรายงานผลการดำเนินการ จัดทำร่าง Key Factors สรุป Key Themes ตรวจสอบรายงานผลการตรวจประเมิน จัดทำร่าง Comment 6-10 ประเด็น ให้คะแนน สรุป ข้อสังเกต การจัดทำรายงานผลการตรวจประเมิน การตรวจประเมินแต่ละหัวข้อ
อ่านข้อกำหนดของเกณฑ์ กระบวนการตรวจประเมิน ลำดับที่ 1
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ : มุมมองในเชิงระบบ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 3. การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด 6. การจัดการ กระบวนการ 7. ผลลัพธ์ ทางธุรกิจ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
เลือก Key Factors 4-6 ปัจจัย กระบวนการตรวจประเมิน ลำดับที่ 2
Key Factors • ให้ข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับหน่วยงาน • ให้บริบทสำหรับการตรวจประเมินเกณฑ์แต่ละหัวข้อ • ดึงประเด็นสำคัญมาจาก 5 ประเด็นพิจารณาของโครงร่างองค์กร • อยู่ในแบบฟอร์ม Key Factors Worksheet และ Item Worksheets • ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ระหว่างกระบวนการตรวจประเมิน
โครงร่างองค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพแวดล้อมขององค์กร ข. ความสัมพันธ์ ระดับองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. บริบทด้าน กลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ -ผลิตภัณฑ์ บริการ หลัก และกลไกการนำ ผลิตภัณฑ์และบริการสู่ลูกค้า - วัฒนธรรม วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม - ลักษณะโดยรวมบุคลากร กลุ่มบุคลากร และ ความ ต้องการ ระดับการศึกษา สวัสดิการที่สำคัญ ข้อกำหนดด้านสุขภาพ ความปลอดภัย - เทคโนโลยี อุปกรณ์ และ อาคารสถานที่ - กฎหมาย และระเบียบ ข้อบังคับ - โครงสร้างองค์กร ระบบ ธรรมาภิบาล - กลุ่มลูกค้า ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ความต้องการ และความคาดหวังของ แต่ละกลุ่ม - บทบาทผู้ส่งมอบ ผู้ร่วมมือ คู่ความร่วมมือที่สำคัญ ในระบบงาน การผลิตและ การส่งมอบ กระบวนการ นวัตกรรม ความต้องการที่ มีต่อ supply chain - ความสัมพันธ์ในฐานะ ผู้ร่วมมือกับผู้ส่งมอบ และลูกค้า - ลำดับการแข่งขัน ขนาดและการเติบโต เทียบกับธุรกิจเดียวกัน จำนวนและประเภท คู่แข่ง - ปัจจัยความสำเร็จ เทียบกับคู่แข่ง - การเปลี่ยนแปลงที่มี ผลต่อการแข่งขัน รวมทั้งโอกาสด้าน นวัตกรรม และ ความร่วมมือ - แหล่งข้อมูลเชิง เปรียบเทียบ/แข่งขันทั้ง ภายในและภายนอก อุตสาหกรรม - ความท้าทายเชิง กลยุทธ์และความ ได้เปรียบที่สำคัญ ด้านพันธกิจ ด้านปฏิบัติการ ด้านทรัพยากร บุคคล - การปรับปรุงผล การดำเนินการ - กระบวนการ ประเมินและ การเรียนรู้ระดับ องค์กร
กิจกรรม 1 การระบุ Key Factors ของหน่วยงานกรณีศึกษา วัตถุประสงค์ • เพื่อจำลองกระบวนการระบุ Key Factors จากโครงร่างองค์กรของกรณีศึกษาที่เชื่อมโยงและสำคัญต่อการตรวจประเมินเกณฑ์ในหัวข้อต่าง ๆ • เพื่อให้เข้าใจถึงบทบาทของ Key Factors ในการช่วยให้ผู้ตรวจประเมินกำหนดบริบทขององค์กรเพื่อการตรวจประเมิน ช่วยระบุว่าสารสนเทศที่สำคัญครบถ้วนหรือไม่ และมุ่งเน้นที่ข้อกำหนดที่สำคัญของการปฏิบัติการและผลลัพธ์ ขอให้ แต่ละกลุ่มระบุ Key Factors 4-6 ประเด็น ที่สำคัญต่อการตรวจประเมินรายงานผลการดำเนินการของกรณีศึกษา
วิเคราะห์รายงานฯหัวข้อนั้นวิเคราะห์รายงานฯหัวข้อนั้น กระบวนการตรวจประเมิน ลำดับที่ 3
การตรวจประเมิน 2 มิติ กระบวนการ Learning – fact-based improve-ment Approach – systematic Deployment – extent Integration ผลลัพธ์ Linkage with Key Result Areas Levels Trends Comparisons %0 100% เกณฑ์เพื่อการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ
มิติกระบวนการ • “กระบวนการ’’หมายถึง วิธีที่องค์กรใช้และปรับปรุง เพื่อตอบสนองข้อกำหนดต่างๆ ของหัวข้อในหมวด 1-6 ปัจจัยทั้ง 4 ที่ใช้ประเมินกระบวนการ ได้แก่ • แนวทาง (Approach - A) • การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) • การเรียนรู้ (การทบทวนและปรับปรุง) (Learning - L) • การบูรณาการ (Integration - I)
การตรวจประเมิน : มิติกระบวนการ 1. แนวทาง (A) • กิจกรรมเป็นระบบมีประสิทธิผล และอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลและสารสนเทศที่เชื่อถือได้ หรือไม่ • ผู้สมัครตอบสนองต่อข้อกำหนดของหัวข้ออย่างสมบูรณ์ หรือไม่ 2. การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (D) • แนวทางถูกนำไปปฏิบัติในหน่วยงาน ผลิตภัณฑ์ บริการ กระบวนการ และพื้นที่ที่เหมาะสมทั้งหมด หรือไม่ 3. Learning (L) • มีแนวทางที่เป็นระบบในการประเมินและปรับปรุงโดยใช้ข้อมูลจริงหรือไม่? มีหลักฐานนวัตกรรมอย่างก้าวกระโดดในกระบวนการหรือไม่ • มีหลักฐานของการแลกเปลี่ยนอย่างเป็นระบบในเรื่องการปรับปรุง นวัตกรรม และบทเรียนที่ได้รับ ทั่วทั้งองค์กร หรือไม่ 4. Integration (I) • แนวทางของผู้สมัครส่งผลต่อการบรรลุข้อกำหนดที่สำคัญขององค์กร ที่ระบุไว้ในปัจจัยที่สำคัญหรือไม่ • กระบวนการในเกณฑ์หัวข้อนี้เติมเต็มหรือสนับสนุนกระบวนการในเกณฑ์หัวข้ออื่นหรือไม่
จัดทำร่าง Comment 6-10 ประเด็น กระบวนการตรวจประเมิน ลำดับที่ 4
รายงานป้อนกลับ (Feedback Report) • ผลผลิตจากการการสมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ • ช่องทางเดียวในการสื่อสารกับองค์กรที่สมัครรางวัลว่าองค์กรสามารถปรับปรุงเรื่องอะไรบ้าง
Comment มี 2 ประเภท • จุดแข็ง (+ หรือ ++) • โอกาสในการปรับปรุง(- หรือ --) • ++สำหรับประเด็นที่เป็น Best Practices • - - สำหรับประเด็นที่สำคัญที่มีผลกระทบต่อระบบการดำเนินการขององค์กรอย่างมาก
จุดแข็ง (Strength) คือ อะไร • ตอบสนองต่อข้อกำหนดของเกณฑ์ • แนวทางเป็นระบบ (ทำซ้ำได้) มีการถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ มีการทบทวนและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง มีการแบ่งปันความรู้ และการทำให้หน่วยงานต่าง ๆ ดำเนินการสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน (ไม่จำเป็นต้องครบทั้ง 4 ปัจจัยในการตรวจประเมินก็ได้) • ผลลัพธ์แสดงระดับของผลการดำเนินการที่ดี แนวโน้ม ตัวเปรียบเทียบและ/หรือระดับเทียบเคียง การเชื่อมโยงของตัวชี้วัดผลต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต่อความสำเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร (ไม่จำเป็นต้องครบทั้ง 4 ปัจจัยในการตรวจประเมินก็ได้)
โอกาสในการปรับปรุง (OFI) คือ อะไร • ประเด็นตกหล่น ไม่ครอบคลุมตามเกณฑ์ • แนวทางไม่เป็นระบบ (ทำซ้ำไม่ได้เพราะไม่ได้เป็นกระบวนการ) • ปัจจัย / ทิศทาง / วัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ใน “โครงร่างองค์กร” ไม่ได้ถูกนำมารายงานในประเด็นที่เกี่ยวข้องในหัวข้อต่าง ๆ • ผลลัพธ์ไม่ดี ไม่แสดงแนวโน้ม การเปรียบเทียบ ความเชื่อมโยง ซึ่งอาจขัดขวางความสำเร็จขององค์กร
มิติกระบวนการ หมวด 1 - 6
โครงสร้างของการเขียน Comment : มิติกระบวนการ ประกอบด้วย • ประเด็นตามคำถามในเกณฑ์ [ชื่อของกระบวนการหรือตัวชี้วัด] • ประเด็นที่เป็นจุดแข็งหรือโอกาสในการปรับปรุง [ระบุลักษณะ] • ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ [บรรยายข้อมูลที่สนับสนุน] • ในกรณีที่เป็นโอกาสในการปรับปรุง สิ่งนั้นส่งผลต่อองค์กรอย่างไร [บรรยาย “ผลต่อองค์กร” (so what) หรือสิ่งที่สำคัญต่อองค์กรผู้สมัครรางวัล]
แนวทางการเขียน Comment • Comment แต่ละประเด็นต้องเป็นเรื่องเดี่ยวและสมบูรณ์ในตัวเอง • สัมพันธ์กับ Key Factors • กระชับ ได้ใจความชัดเจน และตรงประเด็น • เน้นเฉพาะประเด็นที่ระบุไว้ในเกณฑ์เท่านั้น • เขียนผลการประเมินให้เป็นประโยค ขึ้นต้นด้วยประธาน (เช่น บริษัท / ผู้สมัคร /ผู้นำระดับสูง / ทีมงาน) กริยา (เช่น ถ่ายทอด / สื่อสาร / รับฟังและเรียนรู้) และยกตัวอย่างจากตารางเลขที่ หรือรูปที่ตามความเหมาะสม • ไม่ขัดแย้งกันเองในประเด็นผลการประเมินในหัวข้อต่างๆ • ไม่แสดงความคิดเห็น โดยใช้คำว่า “ควรจะ” หรือ “ต้อง” หรือ “เห็นสมควร” • ไม่ใช้วิจารณญาณส่วนตัว (Judgment) ของผู้ประเมิน โดยใช้คำว่า “ดี” หรือ “ไม่ดี” หรือ “ไม่เพียงพอ” ขอให้ระบุสิ่งที่พบความเป็นจริง เช่น “อัตราความพึงพอใจของลูกค้าเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา” • ใช้ศัพท์หรือชื่อเรียกจากเอกสาร ใช้ภาษาของเกณฑ์และแนวทางการให้คะแนน • ระบุผลต่อองค์กร(“So What”) (โดยเฉพาะสำหรับ OFIs) • ความถูกต้องของไวยากรณ์ ตัวสะกด และวรรคตอน
เปรียบเทียบการเขียน Comment (จุดแข็ง) • ผู้สมัครสร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการทำงาน ผู้บริหารสูงสุดมอบอำนาจในการตัดสินใจแก่พนักงานและการส่งเสริมให้ทำงาน • ผู้สมัครสร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการให้บริการลูกค้า ผู้บริหารสูงสุดมอบอำนาจในการตัดสินใจแก่พนักงานและการส่งเสริมให้ทำงานเป็นทีมลักษณะคร่อมสายงาน รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย KM Web ระบบพี่เลี้ยง (Mentor System) และการศึกษาดูงานจากองค์กรที่เป็นเลิศ (Best Practice) นอกจากนี้ ผู้สมัครมีการทบทวนและปรับปรุงวิธีการสร้างบรรยากาศด้วยการประเมินผลดำเนินการ
เปรียบเทียบการเขียน Comment (โอกาสในการปรับปรุง) • แม้ว่าผู้สมัครใช้การสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรเป็นวิธีการที่เป็นทางการในการระบุความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจของบุคลากร แต่ไม่มีหลักฐานว่ามีการใช้วิธีการที่ไม่เป็นทางการและวิธีการจัดการกับข้อร้องทุกข์ 2. แม้ว่าผู้สมัครใช้การสำรวจความพึงพอใจของบุคลากรเป็นวิธีการที่เป็นทางการในการระบุความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจของบุคลากร แต่ไม่มีหลักฐานชัดเจนว่ามีการใช้วิธีการที่ไม่เป็นทางการในรูปแบบอื่น ตลอดจนวิธีการจัดการกับข้อร้องทุกข์ของบุคลากรซึ่งส่งผลให้ผู้สมัครขาดแนวทางที่เป็นระบบในการระบุความต้องการและความกังวลในการบรรลุความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์เรื่องการรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีทักษะและได้รับการจูงใจ
กิจกรรม 2 การจัดทำ Comment และรายงานป้อนกลับ (Feedback Report)
กิจกรรม 2 วัตถุประสงค์ • เพื่อให้เข้าใจปัจจัยในการประเมินมิติกระบวนการทั้ง 4 ปัจจัย : Approach-Deployment-Learning-Integration • เพื่อประเมินวิธีปฏิบัติ ระบบ และกระบวนการที่ตอบสนองต่อข้อกำหนดของหัวข้อในมิติกระบวนการ • เพื่อฝึกปฏิบัติการจัดทำ Comment และรายงานป้อนกลับในมิติกระบวนการ
กิจกรรม 2 • แต่ละกลุ่มแต่งตั้งหัวหน้ากลุ่ม ผู้รักษาเวลา เลขานุการกลุ่ม และผู้นำเสนอ • ระบุ Key Factors ที่สำคัญ 4-6 ปัจจัยที่จะใช้ในการตรวจประเมินหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย • จัดทำข้อ Comment 6-10 ประเด็น จากการ Consensus โดย • ระบุ Key Factor ที่สำคัญสำหรับแต่ละ Comment • ใส่เครื่องหมาย +, ++, -, -- โดย ++ หรือ – ใช้กับประเด็นที่สำคัญที่มีผลกระทบต่อระบบการดำเนินการขององค์กรอย่างมาก • ระบุปัจจัย A/D/L/I • กลุ่มเลือกประเด็นจุดแข็ง 1 ประเด็น และ OFI 1 ประเด็น มาเขียน Comment แบบเต็มรูปแบบ • ระหว่างการอภิปราย เลขานุการกลุ่มบันทึกเนื้อหาบน Flipchart • ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการอภิปราย
ให้คะแนน กระบวนการตรวจประเมิน ลำดับที่ 5
การตรวจประเมิน 2 มิติ กระบวนการ Learning – fact-based improve-ment Approach – systematic Deployment – extent Integration ผลลัพธ์ Linkage with Key Result Areas Levels Trends Comparisons %0 100% เกณฑ์เพื่อการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ
A D L I Approach Definable Repeatable Measurable Predictable 5 W 1 H What Who When Where Why How Standardized KPIs Output Deployment Communicate Understanding Implementation Monitor Integration Profile Category Result Learning Check(Evaluate) Share (Personal/Org) Improvement
แนวทางการให้คะแนนแต่ละหัวข้อ (Item) เริ่มด้วยการกำหนดช่วงคะแนน (เช่น ร้อยละ 50 ถึง 65) ซึ่งมีคำอธิบายที่เหมาะสมกับระดับความสำเร็จขององค์กร ดังที่รายงานไว้ในการตอบในหัวข้อนั้น ระดับความสำเร็จขององค์กรขึ้นอยู่กับพื้นฐานของปัจจัยดังกล่าวทั้งหมดในภาพรวม ไม่ใช่การแจงนับหรือการเฉลี่ยผลของการประเมินของแต่ละปัจจัย “คำอธิบายที่เหมาะสมกับระดับความผลสำเร็จขององค์กร” อาจมีบางปัจจัยหรือหลายปัจจัยที่ใช้ในการประเมินในหมวด 1-6 (แนวทาง – การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ – การเรียนรู้ – การบูรณาการ) หรือมีปัจจัยที่ใช้ในการประเมินในหมวด 7 ที่ไม่ครบถ้วนก็ได้ การตัดสินใจว่าจะให้คะแนนจริงเท่าไร ภายในช่วงคะแนนที่เลือกไว้ ต้องประเมินว่าคำตอบในหัวข้อนั้นๆ ใกล้เคียงกับข้อความที่อธิบายในช่วงคะแนนที่สูงขึ้นไป หรือต่ำลงมา
Optionแนวทางการให้คะแนน : มิติกระบวนการ • ใช้แนวทางการให้คะแนน ในการกำหนดระดับคะแนนสำหรับแต่ละปัจจัยในการประเมินในมิติกระบวนการ • Approach (A) • Deployment (D) • Learning (L) • Integration (I) 2. คำนวณค่าเฉลี่ยของระดับคะแนน A, D, L, I (ปัดลงให้เป็นตัวเลขหลัก 5 ) • ระดับคะแนนของหัวข้อนั้น ได้แก่ ระดับคะแนนที่ต่ำกว่าของ : • ค่าเฉลี่ยของระดับคะแนน A, D, L, I • ระดับคะแนนของ A
แนวทางการให้คะแนนแต่ละหัวข้อ มิติกระบวนการ หัวข้อที่อยู่ในหมวด 1-6 ที่ได้คะแนนร้อยละ 50 แสดงว่าแนวทางนั้นตอบสนองข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อ มีการถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติอย่างคงเส้นคงวาและสู่หน่วยงานส่วนใหญ่ที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับหัวข้อนั้นๆ โดยใช้วงจรปรับปรุงและการเรียนรู้ รวมทั้งตอบสนองความต้องการหลักขององค์กร หากมีการถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติอย่างครอบคลุมมากขึ้นมีการเรียนรู้ขององค์กรอย่างมีนัยสำคัญ และมีการบูรณาการมากขึ้น ก็จะได้คะแนนสูงขึ้น
กิจกรรม 3 การให้คะแนน : มิติกระบวนการ
กิจกรรม 3 วัตถุประสงค์ • เพื่อทำความเข้าใจการให้คะแนนในมิติกระบวนการ • เพื่อประเมินความสมบูรณ์ของการตอบคำถามของเกณฑ์ในมิติกระบวนการ • ใช้แนวทางการให้คะแนน เลือกระดับคะแนนที่เหมาะสมที่สุด “Best Fit” สำหรับหัวข้อที่ประเมิน • ทวนสอบความสมดุลและความสำคัญของจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงให้สอดคล้องกับระดับคะแนนที่ให้
กิจกรรม 4 การจัดทำ Comment รายงานป้อนกลับ (Feedback Report) และการให้คะแนน : มิติกระบวนการ
กิจกรรม 4 • แต่ละกลุ่มแต่งตั้งหัวหน้ากลุ่ม ผู้รักษาเวลา เลขานุการกลุ่ม และผู้นำเสนอ • ระบุ Key Factors 4-6 ปัจจัยที่จะใช้ในการตรวจประเมินหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย • กลุ่มจัดทำ Comment 6-10 ประเด็นจากการ Consensus และระบุ Key Factors ที่สำคัญสำหรับแต่ละข้อ Comment • ใช้เครื่องหมาย +, ++, -, - - โดยใช้ ++ หรือ - - กับประเด็นที่สำคัญที่มีผลกระทบต่อระบบการดำเนินการขององค์กรอย่างมาก • กลุ่มเลือกประเด็นจุดแข็ง 1 ประเด็น และ OFI 1 ประเด็น มาจัดทำ Comment แบบเต็มรูปแบบ • ใช้แนวทางการให้คะแนน เลือกระดับคะแนนที่เหมาะสมที่สุด “Best Fit” • ทวนสอบความสมดุลและความสำคัญของจุดแข็งและ OFI ให้สอดคล้องกับระดับคะแนนที่ให้ระหว่างการอภิปราย เลขานุการกลุ่มบันทึกเนื้อหาบน Flipchart • ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลการอภิปราย
มิติผลลัพธ์ หมวด 7
การตรวจประเมิน 2 มิติ กระบวนการ Learning – fact-based improve-ment Approach – systematic Deployment – extent Integration ผลลัพธ์ Linkage with Key Result Areas Levels Trends Comparisons %0 100% เกณฑ์เพื่อการบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ
การตรวจประเมิน : มิติผลลัพธ์ 1. ความเชื่อมโยง (Linkages - Li) - ผลลัพธ์ที่สำคัญขาดหายไปหรือไม่ - ผลลัพธ์เชื่อมโยงกับ Key Factors และมิติกระบวนการหรือไม่ - ผลลัพธ์มีการแบ่งกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้องค์กรปรับปรุงได้หรือไม่ 2. ระดับ (Levels - Le) - ตัววัดมีระดับผลการดำเนินการที่ดีหรือไม่ - ผลลัพธ์บรรลุหรือดีกว่าวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (หัวข้อ 2.1ข.) หรือวัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการ (หัวข้อ 2.2ข.) หรือไม่ 3. แนวโน้ม (Trends - T) - มีการแสดงแนวโน้มหรือไม่แนวโน้มมีการพัฒนาทางใด (บวก / ลบ / คงที? อัตราการเปลี่ยนแปลงของแนวโน้มเป็นอย่างไร 4. ตัวเปรียบเทียบ และระดับเทียบเคียง (Comparisons and Benchmarks - C) • มีการแสดงตัวเปรียบเทียบหรือไม่เป็นการเปรียบเทียบกับองค์กรในกลุ่มเดียวกัน / คู่แข่งที่สำคัญ / หรือองค์กรที่เก่งที่สุดในเรื่องนั้น ๆผลการเปรียบเทียบเป็นอย่างไร
ตัวอย่างการรายงานผลลัพธ์ตัวอย่างการรายงานผลลัพธ์ Aroyo Fresco Community Health Care Service ระดับเทียบเคียงปี 2005 คู่แข่งปี 2005 แนวโน้มอุตสาหกรรม % พึ่งพอใจมากถึงมากที่สุด วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ระยะสั้น #1 เพิ่มความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในด้านคุณภาพการให้บริการ