430 likes | 830 Views
การตัดสินใจ โดย ต้นทุนที่เกี่ยวข้อง. ลักษณะการใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ 1. การตัดสินใจระยะสั้น ใช้ Relevance Costs 2. การตัดสินใจระยะยาว ใช้ Capital Budgeting. ลักษณะของต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ ต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวกับการตัดสินใจ
E N D
การตัดสินใจโดยต้นทุนที่เกี่ยวข้องการตัดสินใจโดยต้นทุนที่เกี่ยวข้อง
ลักษณะการใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจลักษณะการใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ 1. การตัดสินใจระยะสั้น ใช้ Relevance Costs 2. การตัดสินใจระยะยาว ใช้ Capital Budgeting
ลักษณะของต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจลักษณะของต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ • ต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ • ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวกับการตัดสินใจ • 1) ต้นทุนส่วนที่แตกต่าง • 2) ต้นทุนจม
วิธีการวิเคราะห์ • แบ่งออกเป็น 2 วิธีใหญ่ คือ • 1. วิธีเปรียบเทียบโดยรวม • 2. วิธีการวิเคราะห์ต้นทุนส่วนเพิ่ม โดยมีขั้นตอนคือ • - รวบรวมต้นทุนทั้งหมดเกี่ยวกับทางเลือกต่างๆ • ตัด ต้นทุนจม ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้อง ทิ้ง • วิเคราะห์เฉพาะส่วนที่แตกต่าง
การตัดสินใจเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่การตัดสินใจเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่
เครื่องจักรใหม่ทำให้ต้นทุนผันแปรลดลง 100,000 บาท
ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรเก่าเป็นต้นทุนที่เกิดจากการตัดสินใจไปแล้วเมื่อในอดีตหรืออาจเรียกว่าเป็นต้นทุนจม ไม่มีผลต่อการตัดสินใจในปัจจุบัน จึงไม่นำมาคิด
เครื่องจักรเก่ามีค่าซ่อมบำรุงที่สูงกว่าเครื่องจักรใหม่อยู่ 10,000 บาท
รวมต้นทุนคงที่ทำให้มีค้นทุนสูงกว่าเครื่องจักรใหม่อยู่ 90,000 บาท
ดังนั้น เราควรเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่เพราะเครื่องจักรใหม่ทำให้มีกำไรสุทธิจากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น 10,000 บาท
การตัดสินใจ เกี่ยวกับ-คำสั่งพิเศษ
คำสั่งพิเศษ หมายถึง คำสั่งให้ผลิตให้เป็นพิเศษ บริษัทไม่ได้คาดการณ์ไว้ก่อนล่วงหน้า ไม่ใช่คำสั่งจากลูกค้าปกติของบริษัท และลักษณะสำคัญอีกอย่างของคำสั่งพิเศษคือมักมีราคาต่ำกว่าราคาขายปกติของบริษัท การที่บริษัทจะรับผลิตตามคำสั่งพิเศษหรือไม่จะต้องพิจารณาหลายปัจจัยประกอบกันได้แก่ • บริษัทมีกำลังการผลิตว่างเปล่าเหลืออยู่สำหรับคำสั่งพิเศษ • คำสั่งพิเศษนั้นจะต้องไม่ทำลายยอดขายปกติของบริษัท เพราะคำสั่งพิเศษมักจะมีราคาต่ำกว่าราคาปกติ หากลูกค้าประจำของบริษัททราบก็จะทำให้เกิดความไม่พอใจจนถึงขั้นเลิกซื้อได้ • เมื่อคำสั่งพิเศษนั้นสามารถสร้างกำไรส่วนเพิ่มให้บริษัทได้หรือ • เมื่อบริษัทมีภาวะตึงเครียดทางการเงิน ต้องการเงินสดจากคำสั่งพิเศษมาใช้หมุนเวียนอย่างเร่งด่วน
หากบริษัทมีเครื่องจักรสำหรับการผลิตชิ้นส่วนชนิดนี้มีกำลังการผลิตเต็มประสิทธิภาพ 100,000 ชิ้น/ปี แต่บริษัทใช้กำลังการผลิตจริงเพียง 90,000 ชิ้น ข้อมูลตามปกติ เมื่อต้นปีได้รับคำสั่งซื้อพิเศษเพิ่มอีก 10,000 ชิ้น ราคาชิ้นละ 1.5 บาท ซึ่งบริษัทเองก็มีกำลังการผลิตเหลืออยู่ จึงควรนำไปพิจารณาว่า
จากเดิม 90,000 ชิ้น ขายชิ้นละ 3 บาท เมื่อมียอดขายเพิ่มอีก 10,000 ชิ้น ชิ้นละ 1.5 บาท
ต้นทุนผันแปรหน่วยละ 1 บาท ทำให้คำสั่งพิเศษที่มีจำนวนการสั่งซื้อที่มากกว่ามีต้นทุนผันแปรมากกว่าไปด้วย
อย่างไรก็ตาม จำนวนสั่งซื้อที่มากกว่าก็ทำให้กำไรส่วนเกินมากกว่าอยู่
ต้นทุนที่ไม่มีความแตกต่าง ไม่ผลต่อการตัดสินใจ
การตัดสินใจเกี่ยวกับ ผลิตเองหรือ ซื้อจากภายนอก
ผู้เสนอขายจากภายนอก ราคาชิ้นละ 845
ผลิตเองต้นทุนต่ำกว่า 2,100,000 บาท ตัดสินใจผลิตเอง
ซื้อต้นทุนต่ำกว่า 29,400,000 บาท ตัดสินใจซื้อ
ข้อดีของซื้อจากภายนอกข้อดีของซื้อจากภายนอก 1. เป็นอิสระจาก Supplier 2. แน่ใจได้ว่าจะมีชิ้นส่วนเพื่อใช้อย่างสม่ำเสมอ 3. ไม่ต้องภาระต้นทุนเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี 4. ไม่มีต้นทุนวิจัยและพัฒนา 5. การใช้ชิ้นส่วนบางชนิดที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับจากผู้บริโภคจะทำให้ขายสินค้าได้ดี 6. ไม่ต้องรับภาระในการดูแลสินค้าคงคลังจำนวนมาก
ข้อเสียการซื้อจากบุคคลภายนอกข้อเสียการซื้อจากบุคคลภายนอก 1. ไม่ค่อยแน่ใจเรื่องคุณภาพได้ตามต้องการ 2. ไม่สามารถพัฒนาเป็นผู้ผลิตและจำหน่าย ชิ้นส่วน 3. ไม่สามารถรักษาความลับของผลิตภัณฑ์
การตัดสินใจ จำหน่ายหรือผลิตต่อ
ผลิตต่อ ต้นทุนผลิตต่อ ผลิตต่อ ต้นทุนผลิตต่อ ผลิตต่อ ต้นทุนผลิตต่อ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์-ก ต้นทุนร่วม ผลิตภัณฑ์-ข ผลิตภัณฑ์-... จุดแยกออก
หลักการวิเคราะห์ขายหรือผลิตต่อหลักการวิเคราะห์ขายหรือผลิตต่อ ต้นทุนร่วมเป็นต้นทุนจม ซึ่งไม่ว่ากิจการจะตัดสินใจอย่างไร ต้นทุนจำนวนนี้ก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ จึงไม่จำเป็นที่จะต้องนำมาทำการวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจ
การตัดสินใจเกี่ยวกับ การจัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัด
ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกผลิตสินค้าให้บริษัทมีกำไรรวมสูงสุดปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการเลือกผลิตสินค้าให้บริษัทมีกำไรรวมสูงสุด - กำไรส่วนเกินต่อหน่วยของสินค้า - การใช้ปัจจัยการผลิตแต่ละชนิดของสินค้า - พิจารณาเลือกผลิตสินค้าที่เมื่อพิจารณาทางด้านปัจจัยการผลิตแล้วให้กำไรสูงสุด
การยกเลิกสายผลิตภัณฑ์หรือส่วนงานการยกเลิกสายผลิตภัณฑ์หรือส่วนงาน พิจารณาเกี่ยวกับ • ผลิตภัณฑ์มีความสามารถสร้างกำไรได้ในระดับใด • ผลิตภัณฑ์มีราคาขายที่เหมาะสมหรือไม่ • มีวิธีการส่งเสริมการขายหรือโฆษณาที่มีประสิทธิภาพใช้ได้หรือไม่ • หากยกเลิกสายผลิตภัณฑ์บางชนิดจะทำให้โดยรวมแล้วกำไรทั้งบริษัทลดลงหรือไม่ หากลดลงก็ไม่ควรยกเลิกสายผลิตภัณฑ์ • หากยกเลิกสายผลิตภัณฑ์บางชนิดออก ผลิตภัณฑ์ที่เหลืออยู่จะสามารถรับภาระต้นทุนและค่าใช้จ่ายได้ทั้งหมดหรือไม่
วิธีการวิเคราะห์หรือยกเลิกสายผลิตภัณฑ์ - ในเชิงปริมาณ วิเคราะห์ถึงผลกระทบรวมเมื่อยกเลิกสายผลิตภัณฑ์นั้นไปโดยเฉพาะต้นทุนคงที่ส่วนที่ไม่สามารถยกเลิกได้