960 likes | 1.09k Views
เอกสาร 1 การวัดและประเมิลผลการศึกษา สำหรับอาจารย์ผู้สอน. โดย รองศาสตราจารย์สุเทพ สันติว รานนท์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา โทร 086-9574067 084-2513699. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน.
E N D
เอกสาร 1 การวัดและประเมิลผลการศึกษาสำหรับอาจารย์ผู้สอน โดย รองศาสตราจารย์สุเทพ สันติวรานนท์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา โทร 086-9574067 084-2513699
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน การวัดผล (Measurement)คือ กระบวนการในการกำหนดตัวเลขให้กับสิ่งของ บุคคล หรือ เหตุการณ์ อย่างมีกฎเกณฑ์ 1. การวัดทางกายภาพศาสตร์ 2. การวัดทางสังคมศาสตร์ ความหมาย
การวัดทางสังคมศาสตร์ (Social Science หรือ Psychological Testing) :นามธรรม วัดจากการแสดงออกของพฤติกรรม 1. Cognitive Domain (Thinking) 2. Affective Domain (Feeling) 3. Psychomotor Domain (Doing)
1. Cognitive Domain (Thinking) ด้านความรู้-ความจำ ความเข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ ประเมินค่า สังเคราะห์-สร้างสรรค์ตามจุดประสงค์-เนื้อหารายวิชา *มีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสัมพันธ์ของวิชาพื้นฐานแต่ละด้าน *มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี และหลักการที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของผู้เรียน การจัดการเรียนการสอน การวิจัย ธรรมเนียมปฏิบัติ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
1. Cognitive Domain (Thinking) ด้านความรู้-ความจำ ความเข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ ประเมินค่า สังเคราะห์-สร้างสรรค์ตามจุดประสงค์-เนื้อหารายวิชา *มีความรู้ความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และความก้าวหน้าในศาสตร์ *บูรณาการความรู้ในศาสตร์วิชาไปใช้ดำรงชีวิตและประกอบอาชีพอย่างมีปะสิทธิภาพ *สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน ให้เกิดการต่อยอดองค์ความรู้ เกิดสิ่งใหม่ตามสถานการณ์ บริบทที่เปลี่ยนแปลง
2. Affective Domain (Feeling) ด้านคุณธรรมจริยธรรม *ตระหนัก เห็นความสำคัญ คุณธรรม จรรยาบรรณของวิชาชีพค่านิยมที่พึงประสงค์ *นำคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตเพื่อสร้างสรรค์สังคม และเป็นแบบอย่าง*ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของศาสตร์ต่าง ๆ ไปใช้ในชีวิตและประกอบอาชีพ *ตระหนักถึงคุณค่าของการนำความรู้ แนวคิด ทฤษฎี หลักการไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ
2. Affective Domain (Feeling) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ*มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น อยู่ร่วมกันอย่างกัลป์ยานมิตร เรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง *มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบต่อผู้เรียน(ผู้รับบริการ) อย่างกัลยาณมิตร *ตระหนักถึงคุณค่าการมีความรับผิดชอบ การอยู่ร่วมกัน การเรียนรู้และพัฒนาตนเอง การปฏิบัติต่อผู้เรียน *สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบ ทำงานร่วมกับผู้อื่น เป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดี แสดงออกภาระผู้นำ วิเคราะห์แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ *เรียนรู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง รับผิดชอบผู้เรียนปฏิบัติต่อผู้เรียนด้วยความเข้าใจและเป็นมิตร
3. Psychomotor Domain (Doing)ทักษะทางปัญญา*มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ กรบวนการค้นหาข้อเท็จจริง การทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ *ตระหนักถึงคุณค่าการใช้วิถีทางปัญญาในการดำรงชีวิตการประกอบวิชาชีพ และการแก้ปัญหา*สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาสังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ธรรมชาติ ได้อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงถึงความรู้ทางทฤษฎี ประสบการณ์ และผลกระทบ *สามารถใช้ทักษะวิชาชีพในการแก้ปัญหา การพัฒนาตนเอง การจัดการเรียนการสอนได้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
3. Psychomotor Domain (Doing)ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ *มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษาพูด เขียน เทคโนโลยี คณิตศาสตร์ และสถิติพื้นฐาน เพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้ การเก็บรวบรวมข้อมูล การแก้ปัญหาในการดำรงชีวิต และการจัดการเรียนรู้ *ตระหนักคุณค่าของการใช้……. *สามารถใช้........................ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
3. Psychomotor Domain (Doing)ทักษะการจัดการเรียนรู้*มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด หลักการ ทบ. ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การจัดชั้นเรียน การบันทึก การรายงานผล การวิจัยในชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมกับครอบครัว ชุมชนในการจัดการศึกษา *ตระหนักถึงคุณค่าการนำแนวคิด หลักการ ทบ.........ไปใช้ในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมความแตกต่างระหว่างบุคคล
3. Psychomotor Domain (Doing)ด้านการจัดการเรียนรู้ *สามารถวางแผน ออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดชั้นเรียน การบันทึก การรายงานผล การวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน *สามารถประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว โรงเรียน และชุมน
การประเมินผล (Evaluation) คือ กระบวนการในการตัดสินใจ ลงสรุป ตีคุณค่า ผลการวัดอย่างมีกฎเกณฑ์ ผลการวัด + เกณฑ์ หรือ มาตรฐาน ใช้ระบบ Criterion – Reference หรือ Norm - Reference
การวัดและประเมินผลทางการศึกษาการวัดและประเมินผลทางการศึกษา การประเมินความก้าวหน้าของนักศึกษาตามจุดประสงค์ในรายวิชาต่างๆ • รวบรวมหลักฐานของผู้เรียน 3 Domain • คาดคะเนหรือแปลความก้าวหน้าของนักศึกษา • ต่อเนื่องจากการสอน (ก่อนเรียน ระหว่างเรียน หลังเรียน) • ปริมาณ คุณภาพ • คุณลักษณะโดยรวมของทุกด้าน • ความสัมพันธ์นักศึกษา อาจารย์ ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง
บทบาทของการวัดและประเมินผลบทบาทของการวัดและประเมินผล เข้าไปเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบทางการศึกษา • สื่อ นวัตกรรม • ผู้เกี่ยวข้อง • สิ่งแวดล้อม • วิจัยในชั้นเรียน • นักศึกษา • อาจารย์ • หลักสูตร • วิธีสอน
กระบวนการเรียนการสอน จุดประสงค์รายวิชาแต่ละเนื้อหา → กิจกรรมการเรียนการสอน - พื้นฐานนักศึกษา (วัดประเมิน) - จัดกิจกรรมการเรียนการสอน(วิธีสอน ประสบการณ์ สื่อ จิตวิทยา) - วัดประเมินผลระหว่าง - วัดประเมินผลหลังเรียน
การวัดผลประเมินผล ระหว่างเรียน กระบวนการเรียน การสอน การวัดผลประเมินผล หลังเรียน จุดประสงค์ การวัดประเมินผล ก่อนเรียน การวัดประเมิลผล ระหว่างเรียน กระบวนการเรียนการสอน การวิจัย (CAR) CR,NR CR CR,NR Feedback
การประเมินผลก่อนเรียนการประเมินผลก่อนเรียน • พฤติกรรมที่จำเป็นเพียงพอหรือไม่ (ปฐมพฤติกรรม) • มีความรู้ในสิ่งที่ต้องเรียนเพียงใด (ปัจฉิมพฤติกรรม) • กิจกรรมที่จะจัดควรเป็นอย่างไร ใช้ระบบองเกณฑ์หรืออิงกลุ่ม
การประเมินผลย่อย (Formative Evaluation) เป็นการประเมินผลระหว่างเรียน จบแต่ละหน่วยย่อย วัดความรอบรู้ หาทางปรับปรุงทั้งผู้เรียน และผู้สอน (ซ่อมเสริม แก้ไข ปรับปรุงพัฒนา) ใช้ระบบอิงเกณฑ์ (Criterion Reference : CR)
การประเมินผลรวม ( Summative Evaluation ) • ประเมินครั้งละหลายๆ หน่วย • สิ้นสุดการเรียนการสอน • พิจารณาความรู้ความสามารถภาพรวมในวิชานั้น • พฤติกรรม / เนื้อหาเด่นๆ สำคัญ
ซ่อมเสริม (ผ่าน) ซ่อมเสริม (ผ่าน) ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 จุดประสงค์ พื้นฐาน สอยย่อย (ผ่าน) สอยย่อย (ผ่าน) การจัดการเรียนรู้ - ประเมินผลย่อย
วัตถุประสงค์การประเมินผลรวมวัตถุประสงค์การประเมินผลรวม • ให้เกรด • รับรองความสามารถ • พยากรณ์ความสำเร็จในวิชาต่อเนื่อง • จุดเริ่มต้นการสอนวิชาที่ต่อเนื่อง • ข้อมูลย้อนกลับผู้เรียน
สิ่งที่อาจารย์ควรรู้ - ปฏิบัติ • ข้อดีข้อจำกัด การเลือกใช้ เครื่องมือวัด • การกำหนดเกณฑ์ตัดสิน • การวางแผนสร้างแบบทดสอบ- เครื่องมือวัด • เขียนข้อสอบ - เครื่องมือวัด • การดำเนินการสอบ-ดำเนินการวัด สังเกต • ประเมินคุณภาพเครื่องมือวัดทั้งรายข้อ ทั้งฉบับ • การแปลความหมายคะแนน (อิงเกณฑ์ อิงกลุ่ม)
ยุทธศาสตร์การเรียนเพื่อรอบรู้ยุทธศาสตร์การเรียนเพื่อรอบรู้ ผู้เรียนทุกคนหรือเกือบทุกคน สามารถเรียนได้บรรลุเท่าเทียมกัน ถ้าให้เวลาตามความจำเป็น แนวคิด
Bloom’s Mastery Learning StrategyMaster Learning Approach 1. กำหนดจุดประสงค์การสอน - เนื้อหา 2. กำหนดกิจกรรมตามจุดประสงค์ เนื้อหาย่อยหนึ่งหรือสองสัปดาห์/เนื้อหา เกณฑ์การประเมิน 3. ศึกษาพื้นฐาน 4.จัดกิจกรรมการเรียนรู้
Bloom’s Mastery Learning StrategyMaster Learning Approach 5. ใช้สื่อ/นวัตกรรมให้เรียนสิ่งยาก/น่าสนใจ 6. ทดสอบแต่ละหน่วยเนื้อหา 7. ปรับปรุงแก้ไข 8. ทดสอบรวม
หลักการวัดผลการศึกษา 1. วัดให้ตรงตามจุดประสงค์ • เข้าใจคุณลักษณะ/พฤติกรรม • เข้าใจเครื่องมือวัดถูกต้อง • วัดได้ครบถ้วน ครอบคลุม 2. ใช้เครื่องมือมีคุณภาพ 3. มีความยุติธรรม 4. แปลผลได้ถูกต้อง 5. ใช้ผลได้คุ้มค่า
ข้อบกพร่องและข้อควรระวังข้อบกพร่องและข้อควรระวัง 1. สอบอย่างเลื่อนลอย 2. สับสนในหน้าที่การสอบ 3. ขอแต่เพียงมีข้อสอบ ไม่คำนึงถึง ความครอบคลุม Objectivity
ข้อบกพร่องและข้อควรระวังข้อบกพร่องและข้อควรระวัง 4. จัดสอบอย่างไรก็ได้ • ไม่สร้างกำลังใจ • ไม่เกรงใจ • พิมพ์ไม่ดี • ข้อสอบผิด • ออกเฉพาะเรื่อง • ตรวจคะแนนไม่เป็นธรรม
ข้อบกพร่องและข้อควรระวังข้อบกพร่องและข้อควรระวัง 5. สอบแล้วเลิกกัน • ไม่ทราบเก่งอ่อนอะไร • อะไรตอบ ถูก-ผิด • ข้อใดถูกหมด – ผิดหมด – ไม่เลือก • ข้อใดคนเก่งตอบผิด คนอ่อนตอบถูก • เนื้อหาไหนทำได้ - ไม่ได้
หลักเกณฑ์การให้ระดับผลการเรียน (เกรด) • เข้าใจง่าย • เป็นปรนัย • ปราศจากอคติ / อิทธิพล • วิธีการเที่ยงตรง เชื่อถือได้ ปรนัย • หลักฐานชัดเจน • ชี้ความสำเร็จ
ปัญหาการให้ระดับคะแนน (เกรด) • ขาดเกณฑ์ • สูงกว่าความสามารถผู้เรียน • ผู้สอนผู้ชายมักให้เกรดผู้เรียนหญิงสูงกว่าชาย • ผู้สอนและผู้เรียนขัดแย้งกัน มักขาดความยุติธรรม • เกรดผันแปรไปตามแนวความคิด / วิธีที่ยึด • ให้เกรดอย่างไร จะรักษาคุณภาพ มาตรฐาน • เกรดบางคนไม่แสดงถึงความสามารถ หรือไม่สามารถ เปรียบเทียบ ระหว่างผู้เรียน
พิจารณาผลที่เกิดจากการกำหนดเกณฑ์พิจารณาผลที่เกิดจากการกำหนดเกณฑ์ เกณฑ์สูงเกินไป....................................................... เกณฑ์ต่ำเกินไป........................................................ เกณฑ์ที่เหมาะสม..................................................... เกณฑ์ที่เหมาะสม ต้องสื่อความหมายได้ว่าใครทำคะแนนถึงเกณฑ์ที่กำหนด เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ สามารถปฏิบัติสิ่งนั้นได้
เอกสาร 2 หลักการวัดและประเมินอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม (Criterion-Referenced) รองศาสตราจารย์สุเทพ สันติวรานนท์ สาขาวิชาประเมินผลและวิจัยคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา โทร.084-2513699 086-9574067
แนวคิดของการวัดผลแบบอิงเกณฑ์แนวคิดของการวัดผลแบบอิงเกณฑ์ ยึดการจัดการเรียนการสอนเพื่อรอบรู้ (Mastery Learning) ให้ผู้เรียนบรรลุถึงระดับที่ต้องการ โดยยึดผู้เรียนทุกคนสามารถบรรลุจุดประสงค์ได้เท่าเทียมกันหรือใกล้เคียงกันถ้าให้เวลาตามที่ต้องการ วิธีการเหมาะสม
ความหมายของการวิจัยแบบอิงเกณฑ์ความหมายของการวิจัยแบบอิงเกณฑ์ เป็นการตรวจสอบความสามารถของผู้เรียน ถึงระดับเป้าหมายหรือไม่ (เกณฑ์ :Criteria) x C : ถึงเกณฑ์กำหนด (Master) x < C : ไม่ถึงเกณฑ์กำหนด (Non-Master) ต้องมีการซ่อมเสริม ปรับปรุง เกณฑ์ (Criteria : C) เป็นมาตรฐานขั้นต่ำสำหรับการยอมรับคุณภาพผู้เรียน
ตัวอย่างเกณฑ์ที่กำหนดตัวอย่างเกณฑ์ที่กำหนด 80-100 ระดับขั้น A 75-79 ระดับขั้น B+ 70-74 ระดับขั้น B 65-69 ระดับขั้น C+ 60-64 ระดับขั้น C 55-59 ระดับขั้น D+ 50-54 ระดับขั้น D 0-49 ระดับขั้น E
ลักษณะการวัดผลแบบอิงเกณฑ์ลักษณะการวัดผลแบบอิงเกณฑ์ เชื่อในเรื่องการเรียนเพื่อรอบรู้ (Master Learning) ที่มุ่งให้ผู้เรียนทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดประสบความสำเร็จในการเรียน โดยจัดประสบการณ์ – กิจกรรม คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ได้พัฒนาถึงขีดสูงสุด แต่ใช้เวลาไม่เท่ากัน
C หลังสอน สูง ต่ำ ลักษณะการวัดผลแบบอิงเกณฑ์ (ต่อ) ทุกคนมีโอกาสได้เรียนรู้สิ่งเดี่ยวกันในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม หลังการเรียนต้องพัฒนาและงอกงามทุกคนเพียงแต่ใช้เวลาไม่เท่ากัน C ก่อนเรียน สูง ต่ำ
จุดมุ่งหมายการวัดผลอิงเกณฑ์จุดมุ่งหมายการวัดผลอิงเกณฑ์ เพื่อตรวจสอบระดับการเรียนรู้ของผู้เรียนบรรลุเป้าหมายหรือเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่ การสอบจึงมุ่งวินิจฉัย เพื่อใช้ผลปรับปรุงการเรียนการสอน ใครควรแก้ไขซ่อมเสริม ครูอาจารย์ต้องปรับปรุงอะไร
ช่วงเวลาในการวัด กระทำเป็นระยะๆ ตลอดการสอน • ก่อนสอนเพื่อตรวจสอบพื้นฐาน • ระหว่างสอนเพื่อปรับปรุงเมื่อจบคาบ/ชั่วโมง จบแต่ละตอน/หน่วย/เนื้อหา • หลังสอนเมื่อจบการเรียนการสอนทั้งหมด
ความหมายของคะแนน คะแนน(x)หรือผลการสอบวัดแบบอิงเกณฑ์บ่งบอกถึงระดับผลสัมฤทธิ์ของแต่ละคนเมื่อเทียบกับอิงเกณฑ์ (C) บอกประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ให้รู้ว่า ผู้เรียนทำสิ่งใดได้ ทำสิ่งใดไม่ได้ ได้ผลเท่าไร สะท้อนภาพการสอนของครู อาจารย์ ถ้าผู้เรียนส่วนใหญ่ไม่ผ่าน ผู้เรียนหรือ(และ)ผู้สอนบกพร่อง
คุณสมบัติของแบบทดสอบอิงเกณฑ์คุณสมบัติของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ • เน้นความเที่ยงตรง(Validity) ตามเนื้อหาและตามโครงสร้าง มุ่งเขียนข้อสอบยึดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม • ความเชื่อมั่น (Reliability)(ไม่ค่อยให้ความสำคัญ) • อำนาจจำแนก (ไม่ค่อยให้ความสำคัญ) • ความยากง่าย ขึ้นอยู่กับเนื้อหาและพฤติกรรมที่วัด (ไม่ค่อยให้ความสำคัญ) ** ข้อสอบวัดได้ตามจุดประสงค์ **
หลักการวัดผลแบบอิงกลุ่มหลักการวัดผลแบบอิงกลุ่ม การสอนมีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เต็มความสามารถและความสนใจ ผู้เรียนแต่ละคนประสบความสำเร็จแตกต่างกันตามสภาพพื้นฐานของตน เรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้ไม่เท่ากัน การวัดประเมิน จึงมุ่งสรุปใครเก่งอ่อนกว่ากัน อยู่ตำแหน่งใด โดยเทียบกันในกลุ่ม
ความหมายของการวัดผลแบบอิงกลุ่มความหมายของการวัดผลแบบอิงกลุ่ม เป็นการวัดเพื่อทราบผลการเรียนของผู้เรียนเมื่อเทียบกับคนอื่นในกลุ่ม ตรวจสอบเก่ง – อ่อน เพียงใดเมื่อเทียบกับคนส่วนใหญ่ จึงแบ่งความสามารถของผู้เรียนออกเป็นกลุ่มนำมาเทียบกับ ปทัสฐาน (Norm)
Norm แทนลักษณะภาพรวมของผู้เรียนทั้งหมด เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน Percentile Norm Z-Score Norm T-Score Norm Normalized T-Score Norm
สูง สูง ปานกลาง ปานกลาง ต่ำ ต่ำ ลักษณะการวัดผลแบบอิงกลุ่ม เชื่อในเรื่องของความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยถือว่าความสามารถของแต่ละคน แตกต่างกันไปตามลักษณะของแต่ละคน คนส่วนใหญ่พัฒนาในระดับความสามารถกลางๆ คนเก่ง-อ่อน มีน้อย ลักษณะการเรียนรู้มีการกระจายเป็นโค้งปกติ ก่อนเรียน หลังเรียน
จุดมุ่งหมายของการวัดผลแบบอิงกลุ่มจุดมุ่งหมายของการวัดผลแบบอิงกลุ่ม มุ่งสอบวัดเพื่อจัดตำแหน่ง จำแนกความสามารถออกเป็นกลุ่มสูง ปานกลาง ต่ำ โดยประเมินเทียบกับความสามารถโดยรวมของกลุ่ม คะแนนแต่ละคนจะมีความหมายเมื่อเทียบกับคนอื่นๆ เหมาะกับการคัดเลือก จัดประเภท จัดพวก
ช่วงเวลาในการจัด เป้าหมายเปรียบเทียบจัดตำแหน่ง ก่อนเรียน-จัดที่นั่ง จัดห้อง จัดกลุ่มตามพื้นฐาน หลังเรียน(รวม) – ผลการเรียนภาพรวมใครเหนือใคร(เก่ง-อ่อนกว่ากัน)ตัดเกรดอิงกลุ่มบุคคล
ความหมายของคะแนน คะแนนจะมีความหมายเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับคนอื่นๆ ในกลุ่ม แต่ละคนรู้เท่าไร มีความสามารถระดับ(ตำแหน่ง)ใดเมื่อเทียบกับคนอื่นๆ ไม่สะท้อนสภาพผู้สอน
คุณภาพของแบบทดสอบอิงเกณฑ์คุณภาพของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ • เน้นความเที่ยงตรง(Validity) ทุกชนิด คือความเที่ยงตรงตามเนื้อหา ตามโครงสร้าง ตามสภาพปัจจุบัน และเชิงพยากรณ์ • เน้นความเชื่อมั่น (Reliability) สูงๆ (.60-1.00) • เน้นอำนาจจำแนก เพื่อแยกคนเก่ง-อ่อน ตามระดับความสามารถ (.20-1.00) • เน้นความยากง่าย ปานกลาง เหมาะสม (.20-.80)