550 likes | 657 Views
การทำงานพัฒนาสังคม : ความตระหนักรู้ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง. วีรบูรณ์ วิสารทสกุล.
E N D
การทำงานพัฒนาสังคม :ความตระหนักรู้ในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลง วีรบูรณ์ วิสารทสกุล งานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผู้สร้างอนุญาตให้ทำซ้ำ แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะในกรณีที่ให้เครดิตผู้สร้าง ไม่นำไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้ลิขสิทธิ์เดียวกันนี้เท่านั้น
ประเด็นคุย • กรอบคิดในการมองปัญหา • การผลักดันงานเพื่อแก้ปัญหาสังคมที่ซับซ้อน • องค์กรกำลังหมดแรง และสถานการณ์การเมืองภาคประชาชนที่อ่อนแอ...ทำอย่างไรต่อ
1 • กรอบคิดในการมองปัญหา • ง่าย • ยุ่งยาก • ซับซ้อน • วุ่นวาย โกลาหล
ผู้บริหารควรกังวลอะไร?ผู้บริหารควรกังวลอะไร? ความถูกต้อง แม่นตรงของข้อมูล ของผลการวิเคราะห์ VS ความสามารถในการตีความ – กรอบการมองสถานการณ์ ข้อมูล อะไรสำคัญกว่ากันและทำไม
กรอบคิดในการตีความ(interpretative framework) • May 2003 Harvard Business Review "The High Cost of Accuracy." Kathleen Sutcliffe and Klaus Weber. • They concluded that "the way senior executives interpret their business environment is more important for performance than how accurately they know their environment." Michael Quinn Patton May, 2008
They further concluded that it is a waste of resources to spend a lot of money increasing the marginal accuracy of data available to senior executives compared to the value of enhancing their capacity to interpret whatever data they have. Executives were more limited by a lack of capacity to make sense of data than by inadequate or inaccurate data. In essence, they found that interpretive capacity, or "mind-sets," distinguish high-performance more than data quality and accuracy. Michael Quinn Patton May, 2008
วิเคราะห์ปัญหาทางสังคม...วิเคราะห์ปัญหาทางสังคม... • เด็กติดยาเสพติดในสลัมแห่งหนึ่งกลางกรุง • ความขัดแย้ง เหมืองทอง ที่เลย และ อีสาน • เด็กแว๊น • วัยรุ่นท้องก่อนแต่ง กิจกรรมกลุ่ม 1 ใช้เวลาประมาณ 30 นาที
ยาก ให้แต่ละกลุ่ม วิเคราะห์ว่าปัญหาข้างต้น ควรอยู่ในบริเวณใดของ รูปกราฟอันนี้ และโปรดอธิบายเหตุผล โครงสร้าง-ระบบ (สามารถที่จะเข้าใจได้) ง่าย ง่าย ยาก พฤติกรรม (สามารถที่จะคาดการณ์ได้)
ปัญหาซับซ้อน น้อย ปัญหายุ่งยากเชิงสังคม (สร้างสัมพันธภาพและความเห็นร่วม) ความเห็นพ้องต้องกันของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ปัญหาเชิงเดี่ยว(ใช้แผนและการควบคุม) ปัญหายุ่งยากเชิงเทคนิค (ทดลอง, ใช้ผู้เชี่ยวชาญ) มาก มาก น้อย ความชัดเจนในแนวทางการแก้ไขปัญหา
ลักษณะของข้อเท็จจริง / สถานการณ์ ทำตามสูตรจรวดไปดวงจันทร์ การเลี้ยงดูเด็ก แบบง่าย ยุ่งยาก ซับซ้อน • สูตรเป็นเรื่องสำคัญ • สูตรได้รับการตรวจสอบว่าสามารถนำไปใช้ต่อได้ • ไม่มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะคนไหนที่รู้ว่า จะทำอย่างไรเพื่อเพิ่มความสำเร็จ • สูตรทำให้เกิดสินค้ามาตรฐาน • ความแน่นอนในการผลิตทำให้ได้ผลผลิตเหมือนเดิมทุกครั้ง Michael Quinn Patton May, 2008
ทำตามสูตรจรวดไปดวงจันทร์ การเลี้ยงดูเด็ก แบบง่าย ยุ่งยาก ซับซ้อน • กฎเกณฑ์/มาตรฐาน เป็นสิ่งจำเป็นแ • การส่งยานขึ้นได้สำเร็จ จะช่วยเพิ่มความมั่นในในการทำงานครั้งถัดไป • ใช้ผู้เชี่ยวชาญระดับสูงหลายสาขา ทำงานด้วยกัน • จรวดเหมือนเป็นหนทางที่ท้าทาย • ระดับความแน่นอนที่สูง คือ ผลลัพธ์ที่ได้ • สูตรเป็นเรื่องสำคัญ • สูตรได้รับการตรวจสอบว่าสามารถนำไปใช้ต่อได้ • ไม่มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะคนใด ที่รู้ว่า จะทำอย่างไรเพื่อเพิ่มความสำเร็จ • สูตรทำให้เกิดสินค้ามาตรฐาน • ความแน่นอนในการผลิตให้ได้ผลผลิตเหมือนเดิมทุกครั้ง Michael Quinn Patton May, 2008
ทำตามสูตรจรวดไปดวงจันทร์การเลี้ยงดูเด็กทำตามสูตรจรวดไปดวงจันทร์การเลี้ยงดูเด็ก แบบง่าย ยุ่งยาก ซับซ้อน • กฎเกณฑ์/มาตรฐาน เป็นสิ่งจำเป็นแ • การส่งยานขึ้นได้สำเร็จ จะช่วยเพิ่มความมั่นในในการทำงานครั้งถัดไป • ใช้ผู้เชี่ยวชาญระดับสูงหลายสาขา ทำงานด้วยกัน • จรวดเหมือนเป็นหนทางที่ท้าทาย • ระดับความแน่นอนที่สูง คือ ผลลัพธ์ที่ได้ • กฎเกณฑ์ / มาตรฐานเป็นเพียงข้อจำกัดในการใช้งาน • การเลี้ยงดูเด็ก 1 คน ไม่ได้ให้หลักประกันว่า เมื่อเด็กโตขึ้น เด็กจะได้ดี • ผู้เชี่ยวชาญสามารถช่วยได้แต่ไม่พอ ความสัมพันธ์ คือ กุญแจกสำคัญ • เด็กแต่ละคน มีความเฉพาะตัว ไม่เหมือนกัน • ความไม่แน่นอน คือ ผลลัพธ์ที่รออยู่ • สูตรเป็นเรื่องสำคัญ • สูตรได้รับการตรวจสอบว่าสามารถนำไปใช้ต่อได้ • ไม่มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะคนใด ที่รู้ว่า จะทำอย่างไรเพื่อเพิ่มความสำเร็จ • สูตรทำให้เกิดสินค้ามาตรฐาน • ความแน่นอนในการผลิตให้ได้ผลผลิตเหมือนเดิมทุกครั้ง Michael Quinn Patton May, 2008
ทำตามสูตรจรวดไปดวงจันทร์การเลี้ยงดูเด็ก แบบง่าย ยุ่งยาก ซับซ้อน • กฎเกณฑ์/มาตรฐาน เป็นสิ่งจำเป็นแ • การส่งยานขึ้นได้สำเร็จ จะช่วยเพิ่มความมั่นในในการทำงานครั้งถัดไป • ใช้ผู้เชี่ยวชาญระดับสูงหลายสาขา ทำงานด้วยกัน • จรวดเหมือนเป็นหนทางที่ท้าทาย • ระดับความแน่นอนที่สูง คือ ผลลัพธ์ที่ได้ • กฎเกณฑ์ / มาตรฐานเป็นเพียงข้อจำกัดในการใช้งาน • การเลี้ยงดูเด็ก 1 คน ไม่ได้ให้หลักประกันว่า เมื่อเด็กโตขึ้น เด็กจะได้ดี • ผู้เชี่ยวชาญสามารถช่วยได้แต่ไม่พอ ความสัมพันธ์ คือ กุญแจกสำคัญ • เด็กแต่ละคน มีความเฉพาะตัว ไม่เหมือนกัน • ความไม่แน่นอน คือ ผลลัพธ์ที่รออยู่ • สูตรเป็นเรื่องสำคัญ • สูตรได้รับการตรวจสอบว่าสามารถนำไปใช้ต่อได้ • ไม่มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะคนใด ที่รู้ว่า จะทำอย่างไรเพื่อเพิ่มความสำเร็จ • สูตรทำให้เกิดสินค้ามาตรฐาน • ความแน่นอนที่จะได้ผลผลิตเหมือนเดิมทุกครั้ง Michael Quinn Patton May, 2008
2 • การผลักดันงานเพื่อแก้ปัญหาสังคมที่ซับซ้อน • วิธีคิดโครงการ • Deliberation
วิธีคิดของโครงการ เพื่อแก้ปัญหา กิจกรรม A เป้าหมาย – กลุ่มเป้าหมายที่เราอยากทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น กิจกรรม D โครงการ กิจกรรม B กิจกรรม C Beneficiaries Project
โครงการที่ออกแบบๆ นี้ -----มีข้อจำกัด และข้อดีอย่างไรบ้าง
Sphere of interest Sphere of control ในการผลักดันโครงการ...มีข้อจำกัด Project Beneficiaries operational environment social, economical, environmental states & trends
Sphere of interest Sphere of influence Sphere of control ให้น้ำหนักกับ partners Project Partners Beneficiaries operational environment Relationships & Interactions social, economical, environmental states & trends
Sphere of interest Sphere of influence Sphere of control เน้นที่ outcome Inputs, activities, outputs Outcomes: Changes in behavior Impact: Changes in state operational environment Relationships & Interactions social, economical, environmental states & trends
Partners ที่เราต้องสนใจ Project Beneficiaries Stakeholders / partners Boundary Partners
มาก อิทธิพลในการควบคุมความสำเร็จของโครงการ impact outcome กิจกรรม output เวลา โครงการ กลุ่มเป้าหมาย
เรื่อง Public Deliberation • การพิจารณาใคร่ครวญ ไตร่ตรอง ปัญหาหนึ่งๆ ด้วยการชั่งน้ำหนักในทางเลือกต่างๆ (หรือข้อเสนอ) เพื่อการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจร่วมกันกับคนอื่น (public) และยังสามารถผลักดันทางเลือกตามความเชื่อของตัวเอง (individual)
การหารือประเด็นทางสังคมที่เป็นอยู่การหารือประเด็นทางสังคมที่เป็นอยู่ ความคิดเห็นที่ได้ ........................ ........................ ........................ รายงาน/ นโยบาย ผู้คนไม่ active ไม่รับผิดชอบในความเห็นที่เสนอ
การโต้เถียง (Debate) การใช้วิจารณาณ (Deliberation) • ทำความเข้าใจว่า ทำไม เขาจึงคิดต่าง • สามารถยอมรับความต่างของมุมมองของคนอื่นได้ในระดับใด • ช่วยตัดสินใจว่าเราควรจะค้นหาวิธีในการทำงาน ร่วมกับคนอื่นหรือไม่ โต้กันระหว่างความคิด ของใครดีกว่ากัน ของใครถูก ใครผิด มีลักษณะของการแข่งขัน...ซึ่งไม่สามารถนำไปสู่การปรองดองกันได้
การใช้วิจารณญาณสาธารณะ เป็นอย่างไร
เราเลือก “ยาสีฟัน” อย่างไร ถ้าใช้แล้วไม่พอใจ ทำอย่างไร
เราเลือก “สบู่” อย่างไร ถ้าใช้แล้วไม่พอใจ ทำอย่างไร
เราเลือก “นักการเมือง” อย่างไร ถ้าเขาทำงานแล้วไม่ได้เรื่อง มีการคอร์รัปชั่นมากมาย ....ทำอย่างไร
เจ้านายสั่งให้ไปทำงาน ชิ้นสำคัญระดับชาติ เมียโทรมา บอกว่า ลูกป่วยมาก ให้กลับด่วน แม่โทรมา บอกว่า พ่อโดนรถชน ใกล้สิ้นลมแล้ว.... • เมื่อต้องเจอเรื่องยุ่งยากแบบนี้ เราเลือก อย่างไร • ถ้าเลือกแล้ว ทางเลือกนั้น มีผลกระทบทางลบ เกิดขึ้น เราทำอย่างไร
มีข้อสังเกตอะไรบ้าง เกี่ยวกับเรื่องของการซื้อสบู่ ยาสีฟัน การงานและ การเลือกตั้ง
ข้อสังเกต • แม้ว่า เรื่องส่วนตัว # เรื่องส่วนรวม แต่ เราก็มีแนวโน้มที่จะใช้ วิธีเลือก คล้ายๆ กัน คือ เลือกนักการเมือง (สาธารณะ)เหมือน เลือกสบู่ ยาสีฟัน (เรื่องส่วนตัว) • เราจะไตร่ตรอง ชั่งน้ำหนักอย่างรอบคอบ เมื่อรู้สึกว่าเรื่องนั้นยุ่งยากในการตัดสิน เพราะจะมี ผลกระทบที่ตามมา ซึ่งเราจะเป็นผู้รับผลกระทบนั้น
ในการพูดคุย แลกเปลี่ยน พิจารณา ทางออกของปัญหาส่วนรวมต่างๆ ร่วมกับคนอื่น เช่น เวทีกลุ่มย่อยต่างๆ ....เรามัก • ไม่ใส่ใจว่าคนอื่น คิดและมีเหตุผลอย่างไรในการเลือกทางเลือก ที่ไม่เหมือนเรา • ไม่ใส่ใจว่า การเลือกของเรา จะมีผลกระทบอะไรตามมา กระทบต่อใคร และเราต้องรับผิดชอบอะไรบ้าง (เหมือนเป็นคนนอกตลอด)
โดยสรุป...ลักษณะการตัดสินใจในประเด็นสาธารณะโดยสรุป...ลักษณะการตัดสินใจในประเด็นสาธารณะ • และพบบ่อยๆ ว่า ในเวทีสาธารณะผู้เข้าร่วมมักเสนอแนวทางการแก้ไขที่ขาดการพิจารณาอย่างถ้วนถี่ ทั้งผลทางลบและทางเลือกอื่นๆ อีกทั้งชอบ โยนไปให้คนอื่นทำโดยตนเองสมัครใจเป็นเพียงคนนั่งดูเท่านั้น • ปัญหาสาธารณะ ซับซ้อน ผลกระทบกว้างขวาง การแก้ไขมีหลายทางแต่ละแนวทางมักมีสิ่งที่ (หลายคน) ต้องได้รับผลกระทบดังนั้น มักนำไปสู่ความขัดแย้ง
คำถาม คือ ภายใต้ความซับซ้อนของปัญหาดังกล่าว เราจะพัฒนาให้คนมีความพร้อมที่จะใช้การไตร่ตรอง ครุ่นคิด ถึงแนวทางการแก้ปัญหาที่จะไม่ทำให้คนที่คิดต่าง เห็นต่าง ต้องขัดแย้งกันได้อย่างไร • และไตร่ตรองว่าการเลือกทางแก้ปัญหาแต่ละทาง มีใครได้รับผลกระทบบ้าง และเขารู้สึกอย่างไร และในทางแก้ปัญหาสาธารณะนั้น ตนเองต้องทำอะไร
หัวเรื่อง (topic) ประเด็นที่ห่วงใย
ทางเลือก 1 : ต้องมุ่งให้เรื่องการศึกษา ทางเลือก 2 : ใช้มาตรการทางกฎหมายที่เคร่งครัด และเข้มงวด ทางเลือก 3 : ใช้มาตรการทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุข
ม.2 ญ. ม.2 ช. ม.5 ญ. ม.5 ช. ปวช. ญ. ปวช. ช.
ปัญหาวัยรุ่นท้องก่อนแต่งปัญหาวัยรุ่นท้องก่อนแต่ง ทางออกควรเป็นอย่างไร
ทางเลือก Aทำลายเด็กเป็นเรื่องผิด ทางเลือก B การปล่อยเด็กไว้ จะเป็นปัญหาสังคม ทางเลือก C เป็นสิทธิของผู้หญิง ปัญหาวัยรุ่น ท้อง ก่อน แต่ง
ทางเลือก B การปล่อยเด็กไว้ จะเป็นปัญหาสังคม ทางเลือก A ทำลายเด็กเป็นเรื่องผิด ทางเลือกC เป็นสิทธิของผู้หญิง กิจกรรมที่ต่างคนต่างทำ ตามความเชื่อความสนใจ “ส่วนตัว” กิจกรรมที่เราในนาม “ส่วนรวม” สามารถทำ ร่วมกันได้
เป้าหมายสูงสุด ของการเข้าเวทีการใช้วิจารณญาณ ก็คือ การเปลี่ยนวิธีคิดของเรา ที่มีต่อ วิธีคิดของคนอื่น- -- ไม่ใช่ มุ่งเปลี่ยนวิธีคิดคนอื่นให้มาคิดเหมือนเรา • Public Deliberation does not change the way people think. • Public Deliberative does change the way people think about other people think.
รายงานจากชุมชน ทางเลือก 1….% ทางเลือก 2…..%ทางเลือก 3……% ปัจเจกได้พัฒนาความเป็นพลเมือง กิจกรรมที่เราสามารถทำร่วมกันได้ (collective action)
3 การเปลี่ยนแปลงขององค์กรและการเมืองภาคประชาชน
บทบาทและความสัมพันธ์กับภาคประชาชนบทบาทและความสัมพันธ์กับภาคประชาชน การมุ่งการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง / โครงการ / ผลักดันนโยบายที่เป็นประโยชน์กับชาวบ้าน NGOs รัฐบาล ประชาชน- คนด้อยโอกาส
วิกฤตเศรษฐกิจ • ปชป. รับแนวทาง IMF + กู้เงิน WB-IMF ทรท. ผลักดันแนวเสรีนิยม / FTA / แปรรูป..ทำให้เกิดความขัดแย้งกับเครือข่าย NGO ทรท. เกิดขึ้นประกาศหยุดทุกอย่าง – แปรรูป – กม.11 ฉบับ 2540 2541 2544 2545 ภาคประชาสังคม / NGO ไม่เอา - เกิดกระแสชุมชนนิยม / กระแส “ชุมชน-ชาตินิยมและ King” 2545สั่งสอบการเงิน NGO 24 คน แต่ความสัมพันธ์กับชาวบ้าน ผ่านนโยบายประชานิยม / สวัสดิการเป็นไปด้วยดี....ทำให้ไม่เห็นความจำเป็นในการเข้าร่วมเรียกร้องการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างอีก • อมรา : ชี้ว่าช่วง 43-44 ไม่มี NGO ในสาย กป.อพช.ที่ไม่สนับสนุน ทรท. • ปลายปี 44 • NGO สายอีสาน ขอยุติการเคลื่อนไหว..เพราะ ทรท. มีอำนาจมากดึงมวลชนหมด • สาย อ.ไพบูลย์ ร่วมทำงาน • สาย ครป. / กป.อพช. ขอดูท่าที • ** นายกทักษิณ ประกาศเรียกร้องให้องค์กรทุน เลิกให้การสนับสนุน NGO
ภาวะกดดันขององค์กร 5-10 ปีข้างหน้า องค์กร / หน่วยงาน สถานการณ์คนทำงาน สถานการณ์ ผลผลิตและบริการขององค์กร ต่อกลุ่มเป้าหมาย สถานการณ์ทางการเงิน