570 likes | 787 Views
ภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย. โดย ผศ.ดร.ศุภัช ศุภชลาศัย ผู้อำนวยการ สถาบัน ศึกษา ความร่วมมือระหว่างประเทศ แห่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 กรกฎาคม 2557. Outline. ภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย Position ของประเทศไทยในโลก สิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจโลกกับเศรษฐกิจไทย
E N D
ภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทยภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย โดย ผศ.ดร.ศุภัช ศุภชลาศัย ผู้อำนวยการสถาบันศึกษาความร่วมมือระหว่างประเทศ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 กรกฎาคม 2557
Outline • ภาคเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย • Position ของประเทศไทยในโลก • สิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจโลกกับเศรษฐกิจไทย • ประเทศไทยกับการเปิดเสรี (WTO และ FTAs) • ASEAN Economic Community (AEC)
1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย
1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย 1.1 เคยมีอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP Growth) สูง – ลดลงในช่วงเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ – เพิ่มขึ้นเมื่อเศรษฐกิจฟื้นตัว แต่ไม่เท่ากับในอดีต นอกจากนี้ เศรษฐกิจไทยและประเทศในอาเซียนมีความเชื่อมโยงกันสูง
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Real GDP Growth) ของไทย และประเทศ ASEAN (ปี 2522-2555) ที่มา : World Bank, World Development Indicators Database
1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย 1.2 โครงสร้างเศรษฐกิจไทยเปลี่ยนเป็นประเทศอุตสาหกรรม นานแล้ว ทั้ง GDP และการส่งออก ด้านการนำเข้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าทุนและวัตถุดิบเพื่อมาผลิตสินค้า แต่โครงสร้างการจ้างงานยังอยู่ในภาคเกษตร
โครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของไทยจำแนกตามภาคการผลิตระหว่าง ปี 2503-2555 (สัดส่วน : %) ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ไตรมาสที่ 2/2556
โครงสร้างการส่งออกของไทยจำแนกตามหมวดสินค้าระหว่างปี 2523-2555 (%) ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย 1.3 เศรษฐกิจของประเทศไทยเน้นการพึ่งพาภาคระหว่างประเทศมาก • มีการเปิดประเทศสูง (High Degree of Openness) • ภาคการค้าต่างประเทศเป็นจักรกลสำคัญในการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ • คู่ค้าสำคัญของไทยคือประเทศพัฒนาแล้ว • กลุ่ม ASEAN เป็นตลาดที่มีความสำคัญสูงหลังมีเขตการค้าเสรี ปี 2536
องศาการเปิดประเทศ (Degree of Openness) ที่มา : World Bank, World Development Indicators Database
ตลาดส่งออกของประเทศไทยจำแนกตามตลาดส่งออกของประเทศไทยจำแนกตาม กลุ่มประเทศที่สำคัญ ระหว่างปี 2531-2555 (% share) ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
แหล่งนำเข้าของประเทศไทยจำแนกตามแหล่งนำเข้าของประเทศไทยจำแนกตาม กลุ่มประเทศที่สำคัญ ระหว่างปี 2531-2555 (% share) ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
ดุลการค้าของไทยกับประเทศคู่ค้าต่างๆ ระหว่างปี 2543-2555 (พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย • การลงทุนจากต่างประเทศเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งในด้านเสถียรภาพและเม็ดเงินลงทุน
เงินทุนเคลื่อนย้ายมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยเงินทุนเคลื่อนย้ายมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทย ดุลการค้า = ส่งออก - นำเข้า ดุลบัญชีเดินสะพัด= ดุลการค้า + ดุลบริการ ดุลการชำระเงิน = ดุลบัญชีเดินสะพัด+ เงินทุนเคลื่อนย้าย
ดุลการค้า ดุลบัญชีเดินสะพัด และดุลการชำระเงินของไทย ปี 2534 – 2555 (ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
FDI inflows, global and by group of economies, 1995–2012 (Billions of dollars) ที่มา : UNCTAD, World Investment Report 2013, p.3.
มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ของประเทศที่สำคัญ หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ที่มา : UNCTAD, World Investment Report 2013, p.213-216.
1. Characteristics ของเศรษฐกิจไทย 1.4 ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการคุ้มครองอุตสาหกรรมและภาคเกษตรสูง ประเทศไทยมีการคุ้มครองสูง เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ • ราคาสินค้าบริการสูง • เกิดการผูกขาดขึ้นในธุรกิจต่างๆ ทำให้ธุรกิจต่างๆ อ่อนแอ แข่งขันไม่ได้ • การใช้ทรัพยากรไม่มีประสิทธิภาพ • ภาคการผลิตอ่อนแอ
Scope of Bindings (%) ที่มา : WTO, Statistics Database, Tariff Profiles 2013
Simple Average Tariff Level (MFN) (%) ที่มา : WTO, Statistics Database, Tariff Profiles 2013
Trade Weighted Average Tariff 2011 (%) ที่มา : WTO, Statistics Database, Tariff Profiles 2013
MFN Applied Duties on Agricultural Products in Selected Developed Countries in 2012 (Percentages) ที่มา : WTO, Statistics Database, Tariff Profiles 2013
MFN Applied Duties on Nonagricultural Products in Selected Developed Countries in 2012 (Percentages) ที่มา : WTO, Statistics Database, Tariff Profiles 2013
2. Positioning ของประเทศไทย • ประเทศไทยเป็นประเทศขนาดเล็ก • GDP ต่ำเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ สถานะประเทศเล็กในโลก • ส่วนแบ่งในตลาดการส่งออกของโลกน้อย (ประมาณ 1%) • ส่วนแบ่งตลาดสินค้าจากไทยในตลาดสำคัญ ได้แก่ สหรัฐฯ และสหภาพยุโรป น้อย (ประมาณ 1%) • ไทยไม่ใช่ประเทศผู้นำในการส่งออกสินค้าเกษตร อาหาร และอุตสาหกรรมของโลก • ส่วนแบ่งใน FDI ของโลกลดน้อยลงเรื่อยๆ
GDP ของไทย เปรียบเทียบกับ GDP ของประเทศต่างๆ ปี 2010 GDP ของไทยประมาณ GDP ของรัฐแมรี่แลนด์ ซึ่งอยู่ลำดับที่ 15
GDP ของไทยประมาณ GDP ของมณฑล Hainan ซึ่งอยู่ลำดับที่ 6
สถานภาพการส่งออกสินค้าของประเทศต่างๆ ในตลาดโลก(% Share in World Total Exports) ที่มา : WTO Statistics Database (Trade Profile)
สัดส่วนการนำเข้าสินค้าจากไทยของตลาดส่งออกที่สำคัญ (% market share) ที่มา : United Nations Statistics Division, UN Comtrade Database
Positioning ของประเทศไทยกับการค้าสินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมของโลก
ประเทศผู้ส่งออกสินค้าเกษตร (Agricultural Products) ที่สำคัญของโลก ปี 2010 ที่มา : WTO statistics database
ประเทศผู้ส่งออกสินค้าอาหารและเนื้อสัตว์(Food and Livestock Products) ที่สำคัญของโลก ปี 2009 ที่มา :FAO Statistics Division, FAOSTAT
ประเทศผู้ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม (Manufactures) ที่สำคัญของโลก ปี 2010 ที่มา : WTO Statistics Database
3. สิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจโลก
Globalization • Production Networking เป็น Trend ของการผลิตสินค้าและบริการ • การเจรจา WTO ในรอบโดฮาคงจะประสบความสำเร็จได้ยาก ดังนั้นการเปิดเสรีจึงเป็นลักษณะของการรวมกลุ่มในภูมิภาคหรือเปิดเสรีสองฝ่าย (Bilateral FTA) • โลกมีแนวโน้มที่จะมีการรวมกลุ่มเป็นภูมิภาค • EU ขยายตัวเป็น 27 ประเทศ
โลกมีแนวโน้มที่จะเปิดเสรีมากขึ้น โดยผ่านการรวมกลุ่มในระดับภูมิภาค หรือ Bilateral FTA ซึ่งจะทำให้การเปิดตลาดนั้นเร็วขึ้นกว่าภายใต้ WTO และทำให้ประเทศที่ไม่มี Bilateral FTA เสียเปรียบประเทศที่มี Bilateral FTA • การเจรจา FTA ที่เป็น Bilateral นั้นมีจำนวนมาก เป็น Trend ของโลก (ขณะนี้มีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจทุกชนิดในโลก 236 ความตกลง) • จีนและอินเดียเป็นเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก • ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำของโลกที่เกิดจากประเทศพัฒนาแล้ว US และ EU
Cross Regional RTAs as of December 2006 Source : “The Changing Landscape of Regional Trade Agreements: 2006 Update”, WTO
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการเจรจาการค้าการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการเจรจาการค้า
ทำไม FTAs จึงมีจำนวนมากในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา? • การเจรจา WTO ล้มเหลว • การผลิตที่เป็น Production Network ต้องการเขตการค้าเสรี • ประเทศเล็กมีความจำเป็นต้องทำ FTA หากประเทศคู่แข่งมี FTA กับตลาดส่งออกที่สำคัญ จะทำให้เสียเปรียบ เนื่องจากประเทศคู่แข่งจะเสียภาษีนำเข้าต่ำกว่า
ประเทศใน ASEAN ที่กำลังเจรจา Bilateral FTAs ที่สำคัญ • สิงคโปร์ มีข้อตกลง FTA กับประเทศต่างๆ มากที่สุดในกลุ่ม ASEAN • ที่ลงนามแล้ว (บางส่วนมีผลบังคับใช้แล้ว) : สหรัฐฯ ญี่ปุ่น จีน อินเดีย เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จอร์แดน ปานามา เปรู ESFTA (สวิตเซอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ และนอร์เวย์) Trans-Pacific SEP (บรูไน นิวซีแลนด์ ชิลี และสิงคโปร์) GCC (The Gulf Cooperation Council: บาห์เรน คูเวต โอมาน กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย และ UAE) และคอสตาริก้า • อยู่ระหว่างการเจรจา : แคนาดา เม็กซิโก ปากีสถาน และยูเครน ที่มา : www.fta.gov.sg
มาเลเซีย • ที่ลงนามแล้ว (บางส่วนยังไม่มีผลบังคับ) : ญี่ปุ่น ปากีสถานนิวซีแลนด์ ชิลี • อยู่ระหว่างการเจรจา : สหรัฐฯ (ลงนามใน Trade and Investment Framework Agreement และอยู่ระหว่างการเจรจา FTA แต่ยังไม่คืบหน้า) ออสเตรเลีย, อินเดีย, เกาหลีใต้, ตุรกี, European Union, Trade Prefential System-Organisation of Islamic Conference(TPS-OIC) , Developing Eight (D-8) Preferential Tariff Agreement – บังคลาเทศ อินโดนีเซีย อิหร่าน มาเลเซีย อียิปต์ ไนจีเรีย ปากีสถาน และ, Trans-Pacific Partnership Agreement (TPP) - ออสเตรเลีย บรูไน ชิลี มาเลเซีย นิวซีแลนด์ เปรู สิงคโปร์ สหรัฐฯ และเวียดนาม ที่มา : www.miti.gov.my
ระดับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ASEAN Free Trade Area (AFTA) • การตั้ง AFTA เป็นความคิดริเริ่มจากประเทศไทย (1992) • วัตถุประสงค์หลักของ AFTA คือ ต้องการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ (ในช่วงนั้นจีนเปิดประเทศใหม่ๆ) • ต้องการให้อาเซียนเป็นฐานการผลิตเพื่อส่งออกไปประเทศที่สาม
Schedule of Common Effective Preferential Tariff • Fast track product: Tariffs 0-5% by the year 2000 • Normal track product: Tariffs 0-5% by the year 2003 • Sensitive product: Tariffs 0-5% by the year 2010 • Almost full liberalization by 2010
ทำไมต้องเป็น AEC • การเคลื่อนย้ายปัจจัยควรเป็นเสรี เพราะประสิทธิภาพการผลิตในประเทศ ASEAN จะสูงขึ้น - เกิดจากใช้ประโยชน์จาก Diversity • Production Efficiency → เชื่อมโยงไปยังผู้บริโภคโดยตรง • Facilitate Investment ระหว่างประเทศ ASEAN และการลงทุนจากต่างประเทศ • เสริมศักยภาพในการแข่งขันของ ASEAN ในโลก
เป้าหมาย → ก้าวไปสู่การเป็น “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)”ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015)
เป้าหมายสำคัญของการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC) มี 4 ด้าน คือ • เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and Production Base) → เพื่อเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ ลงทุน แรงงานฝีมือ เงินทุน อย่างเสรี • สร้างขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ (High Competitive Economic Region) → ให้ความสำคัญกับประเด็นด้านนโยบาย ที่ช่วยการรวมกลุ่ม เช่น นโยบายการแข่งขัน นโยบายภาษี ทรัพย์สินทางปัญญา และร่วมกันดำเนินการโดยแลกเปลี่ยนข้อมูล ฝึกอบรมบุคลากรร่วมกัน • สร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Equitable Economic Development) • การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (Fully Integrated into Global Economy) → เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจอาเซียนกับนอกภูมิภาค เช่น ทำ FTA