340 likes | 588 Views
นโยบายà¸à¸²à¸£à¸„ลัง. à¸à¸£à¸¡à¸ªà¹ˆà¸‡à¹€à¸ªà¸£à¸´à¸¡à¸à¸²à¸£à¸›à¸à¸„รà¸à¸‡à¸—้à¸à¸‡à¸–ิ่น มีภารà¸à¸´à¸ˆà¸ªà¹ˆà¸‡à¹€à¸ªà¸£à¸´à¸¡à¹à¸¥à¸°à¸ªà¸™à¸±à¸šà¸ªà¸™à¸¸à¸™à¹ƒà¸«à¹‰ à¸à¸›à¸—. มีความเข้มà¹à¸‚็ง ด้านà¸à¸²à¸£à¹€à¸‡à¸´à¸™ à¸à¸²à¸£à¸„ลัง โดยมีนโยบาย ดังนี้ 1 . à¸à¸²à¸£à¸žà¸±à¸’นาด้านà¸à¸²à¸£à¹€à¸‡à¸´à¸™ à¸à¸²à¸£à¸„ลัง 2. à¸à¸²à¸£à¸žà¸±à¸’นารายได้ขà¸à¸‡ à¸à¸›à¸—. 3. รายได้ขà¸à¸‡ à¸à¸›à¸—. ในปีงบประมาณ 2553. 1. à¸à¸²à¸£à¸žà¸±à¸’นาด้านà¸à¸²à¸£à¹€à¸‡à¸´à¸™à¸à¸²à¸£à¸„ลัง.
E N D
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีภารกิจส่งเสริมและสนับสนุนให้ อปท. มีความเข้มแข็ง ด้านการเงิน การคลัง โดยมีนโยบาย ดังนี้ 1. การพัฒนาด้านการเงิน การคลัง 2. การพัฒนารายได้ของ อปท. 3. รายได้ของ อปท. ในปีงบประมาณ 2553
1. การพัฒนาด้านการเงินการคลัง
เน้นการพัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านการเงิน การคลังในขั้นตอนต่างๆให้มีประสิทธิภาพ และมีความสอดคล้องกัน 1. นโยบายของผู้บริหาร/ ทิศทางการพัฒนา อปท. 2. การจัดทำแผนงาน / โครงการ 3.การจัดทำงบประมาณ 4.การจัดเก็บภาษีอากร 5.การพัสดุ / การจัดซื้อจัดจ้าง 6.การเบิกจ่ายเงิน / การจัดทำบัญชี
7. การตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ 8. วินัยของการคลัง / ความมั่นคงทางการคลัง ขั้นตอนดังกล่าว เป็นวงจรทางการคลังของ อปท. ที่จะต้องดำเนินการให้มีประสิทธิภาพ และมีความสอดคล้องกัน และทุกขั้นตอน จะต้องเน้น คือ ความประหยัดคุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุด รวดเร็ว ทันสถานการณ์ โดยคำนึงถึงประชาชนเป็นหลัก
2. การพัฒนารายได้ของ อปท.
รายได้ของ อปท. มีความสัมพันธ์และสำคัญ ต่อการจัดสรรงบประมาณ ในการจัดทำบริการสาธารณะ เพื่อพัฒนาท้องถิ่นให้มีความเจริญก้าวหน้า โดยมีรายได้ตามที่กฎหมายกำหนด ดังนี้
1. รายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง ภาษี / อากร และค่าธรรมเนียมต่างๆ เช่น ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย อากรฆ่าสัตว์ ฯลฯ ภาษีน้ำมัน ยาสูบ และค่าธรรมเนียมจากผู้พักในโรงแรม ซึ่งจัดเก็บโดย องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) 2. รายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บแล้วจัดสรรให้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1 ใน 9 ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีสุรา ภาษีสรรพสามิต ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนอสังหาริมทรัพย์ ค่าภาคหลวงแร่ และค่าภาคหลวงปิโตรเลียม เป็นต้น
3.รายได้ที่รัฐบาลแบ่งให้3.รายได้ที่รัฐบาลแบ่งให้ ภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ เพื่อให้ อปท. มีสัดส่วนรายได้เพิ่มขึ้น 4. เงินอุดหนุนทั่วไป รัฐบาลจัดสรรให้เป็นรายได้ของ อปท. เพื่อดำเนินการตามภารกิจหน้าที่ หรือภารกิจถ่ายโอน 5. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ รัฐบาลจัดสรรให้ อปท. เพื่อดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาล
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กำหนดแนวทางการพัฒนารายได้ โดยการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ของ อปท. เพื่อให้ อปท. มีการจัดเก็บรายได้ของตนเองและประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น โดยการเสีย ภาษีอากร ดังนี้
1. กำหนดเป้าหมายการจัดเก็บรายได้ในแต่ละปีงบประมาณ ให้สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริง โดยให้เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา 2. จัดทำแผนการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ของ อปท. ประจำปี เช่น การรับชำระภาษีอากรนอกสำนักงาน การรับชำระทางไปรษณีย์ การออกหน่วยบริการ 3. การประชาสัมพันธ์การจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ประชาชนรับทราบ 4. ตรวจสอบรายการทรัพย์สินที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีอากรและค่าธรรมเนียมให้ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
5. จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร และให้ประชาชน ได้แสดงความคิดเห็น หรือซักถามข้อสงสัย 6. อำนวยความสะดวก สร้างความประทับใจแก่ประชาชน ผู้มาเสียภาษีที่สำนักงาน 7. ปรับปรุงระบบแผนที่ภาษี และทะเบียนทรัพย์สินให้เป็นปัจจุบัน เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการจัดเก็บภาษี 8. รักษามาตรฐานการจัดเก็บภาษีอากร และพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บภาษี 9. ใช้มาตรการบังคับจัดเก็บภาษี กรณีผู้หลีกเลี่ยงไม่ชำระภาษี เช่น การฟ้องคดี การยึด / อายัด และขายทอดตลาด ตามที่กฎหมายกำหนด
3.3 รายได้ของ อปท. งบประมาณปี 2553 เปรียบเทียบปี 2552
3.3 รายได้ของ อปท. งบประมาณ ปี2553 รัฐบาลประมาณการไว้ 340,995 ล้านบาท หรือเท่ากับ 25.26% ของรายได้รัฐบาล จำนวน 1,350,000 ล้านบาท แยกเป็น 3.3.1 รายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง จำนวน 29,110 ล้านบาท (8.53%) 3.3.2 รายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บแล้วจัดสรรให้ จำนวน 126,589 ล้านบาท (37.12%) 3.3.3 รายได้ที่รัฐบาลแบ่งให้ จำนวน 45,400 ล้านบาท (13.32%) 3.3.4 เงินอุดหนุน จำนวน 139,895 ล้านบาท (41.03%)
รายได้ของ อปท.เปรียบเทียบงบประมาณปี 2552 กับ 2553
เปรียบเทียบการจัดสรรเงินภาษีให้แก่ อปท. ปี 2552 กับ 2553
ร่างงบประมาณของรัฐบาลปี 2554 ประมาณการรายได้สุทธิของรัฐบาล 1,650,000 ล้านบาท รัฐบาลจะต้องจัดสรรให้ อปท. ไม่น้อยกว่า 25% ของรายได้รัฐบาล เท่ากับ 412,500 ล้านบาท จะใกล้เคียงกับปี 2552
4. การวางระบบการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณและการพัสดุ
4. การวางระบบการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณและการพัสดุ • ขาดความรู้ ความเข้าใจ ขาดประสบการณ์ • ขาดขวัญกำลังใจ ขาดจิตสำนึก • ผู้บริหารไม่ควบคุมกำกับดูแล คน สาเหตุของปัญหา • ระบบตรวจสอบของ สตง. เข้าไม่ทั่วถึง • ขาดระบบตรวจสอบภายใน / ขาดประสิทธิภาพ • การสอบสวน ลงโทษผู้กระทำผิดล่าช้า • ไม่บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง • งบประมาณและแผนไม่ได้เกิดจากความต้องการของประชาชน • ขาดการมีส่วนร่วมภาคประชาสังคม ระบบ ปัญหาเกิดจาก เงินขาดบัญชีหรือการทุจริตคอรัปชั่น ของ อปท.
การจัดสรรรายได้ให้แก่ อปท. ประจำปีงบประมาณ 2554 มติ ครม. 26 มกราคม 2553
วงเงินงบประมาณปี 2554 2,070,000.00 รายจ่ายประจำ 1,630,936.20 ประมาณการรายได้สุทธิของรัฐบาล 1,650,000.00 งบประมาณแบบขาดดุล 420,000.00 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 30,346.10 รายได้ อปท. (26.14%) 431,255.00 รายจ่ายลงทุน 341,369.80 เงินอุดหนุน อปท. 173,900.00 รัฐจัดเก็บและแบ่งให้ 218,609.04 อปท. จัดเก็บเอง38,745.96 ชำระคืนต้นเงินกู้ 67,347.90 อบจ./เทศบาล/อบต.158,875.43 เมืองพัทยา 1,395.00 กทม. 13,629.57 สำนักนายกฯ 500.00 สถ. 158,375.43 เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ72,359.93 เงินอุดหนุนทั่วไป86,015.50 หน่วย : ล้านบาท
ร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 1. เงินอุดหนุนทั่วไป 80,028.998 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 78,346.432 วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 158,375.430 (ล้านบาท)
เงินอุดหนุนทั่วไป 80,028.998 ล้านบาท
เงินอุดเฉพาะกิจ 78,346.432 ล้านบาท
เงินอุดเฉพาะกิจ 78,346.432 ล้านบาท
เงินอุดหนุนทั่วไป ปี 2553 อบจ. / เทศบาล / อบต. 27,512 ลบ. อบจ. (10%) 2,751 ลบ. ตามหลักเกณฑ์ปี 2552 เทศบาล / อบต. (90%) 24,760 ลบ. เทศบาล (48%) 11,845 ลบ. อบต. (52%) 12,915 ลบ. แบ่งเท่ากัน (50%) 5,922 ลบ. ตามหมู่บ้าน (30%) 3,874 ลบ. ตาม ปชก. (50%) 5,922 ลบ. แบ่งเท่ากัน (40%) 5,166 ลบ. ตาม ปชก. (30%) 3,874 ลบ.
เงินอุดหนุนทั่วไป ปี 2554 ตามอำนาจหน้าที่ของ อปท. 52,062 ลบ. (ปี 2553 29,062 ลบ.) ชดเชยรายได้ 7% 3,644 ลบ. อปท.93% 48,417 ลบ. อบจ.,เทศบาล 90% 43,575 ลบ. อบจ. 10% 4,841 ล้านบาท เทศบาล เท่ากัน/ปชก.50/50 อบต. เท่ากัน/ปชก.60/40
ปัญหาการบริหารการคลังท้องถิ่น • ปัญหา • ปัญหาการบริหารรายได้ของ อปท. จัดเก็บไม่ทั่วถึง ไม่เป็นธรรม • ไม่กล้าเก็บฯ ประชาชนไม่สนใจ • ความทับซ้อนของระบบการจัดเก็บภาษี • ปัญหาการบริหารรายจ่าย อปท. • งบประมาณรายจ่ายวัดผลไม่ได้ • มีการเปลี่ยนแปลง งบประมาณบ่อย • นำแผนพัฒนาไปใช้น้อย • วิธีใช้จ่ายงบประมาณไม่เหมาะสม และขาดการมีส่วนร่วม
แนวทางแก้ไขการคลังท้องถิ่น • แนวทางแก้ไข • ระดับชาติ • ลดค่าใช้จ่ายการจัดเก็บภาษี • การจัดสรรรายได้เป็นธรรม มีหลักเกณฑ์ เพิ่มเกณฑ์การจัดสรร • เพิ่มแหล่งที่มาของรายได้ของ อปท. • ปรับปรุงโครงสร้างภาษี เช่น ภาษีรถยนต์ • ภาษีโรงเรือนและทรัพย์สิน ต้องเกิด (ภาษีโรงเรือนและที่ดิน+ภาษีบำรุงท้องที่) • ระดับท้องถิ่น • ขยายฐานภาษี ปรับปรุงให้ทันสมัย โดยใช้ เทคโนโลยี่ มาช่วย • เร่งรัดการจัดเก็บภาษี