1.48k likes | 1.9k Views
ลงลิฟท์ กลับมาทบทวน บันไดขั้นที่ 1 เพื่อคุณภาพ อย่างยั่งยืน. ธวัช ชาญชญานนท์และคณะ สำหรับอบรมเชิงปฏิบัติการ การทบทวนบันไดขั้นที่หนึ่ง 6 มีนาคม 2552. การรับรองเป็นเพียงแรงจูงใจ และให้กำลังใจแก่การทำดี คุณค่าที่แท้จริงอยู่ที่คุณภาพ และความปลอดภัยที่ให้แก่ผู้ป่วย.
E N D
ลงลิฟท์ กลับมาทบทวน บันไดขั้นที่ 1 เพื่อคุณภาพ อย่างยั่งยืน ธวัช ชาญชญานนท์และคณะ สำหรับอบรมเชิงปฏิบัติการ การทบทวนบันไดขั้นที่หนึ่ง 6 มีนาคม 2552
การรับรองเป็นเพียงแรงจูงใจ และให้กำลังใจแก่การทำดีคุณค่าที่แท้จริงอยู่ที่คุณภาพและความปลอดภัยที่ให้แก่ผู้ป่วย
การพัฒนาคุณภาพที่ง่าย มัน ดีและมีความสุข
สบายๆ ตามบันไดสามขั้น ขั้นแรก ไฟลุกตรงไหน ตามไปดูตรงนั้น กันอย่าให้เกิดซ้ำ ขั้นสอง มองงานของตนเอง หาเป้า เฝ้าดู ทำให้บรรลุเป้า ขั้นสาม มองมาตรฐาน เชื่อมโยง ประเมินผล เรียนรู้ ยกระดับ ก้าวแรกที่เข้าใจ ก้าวต่อไปก็ไม่ใช่เรื่องยาก
ลักษณะของการพัฒนาในบันไดขั้นที่ 2 • เปลี่ยนจากการตั้งรับปัญหา มาสู่การวิเคราะห์และวางระบบที่ดี • มุ่งเน้นการวางระบบ ป้องกันความเสี่ยง และการพัฒนาต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายและบริบทของหน่วยงาน • กำหนดเครื่องชี้วัดสำคัญเพื่อติดตามการบรรลุเป้าหมาย • มีการนำมาตรฐาน HA ที่จำเป็นมาสู่การปฏิบัติ • ทบทวนคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และเชื่อมต่อกับระบบงานสำคัญ
เกณฑ์การตัดสิน บันไดขั้นที่ 2 • การทบทวนคุณภาพ • ทบทวนอย่างต่อเนื่อง และเชื่อมต่อกับระบบงานที่สำคัญ • การวิเคราะห์โอกาสพัฒนาและการปรับปรุง • ทุกหน่วยงานและทีมสหสาขาวิชาชีพ (PCT) วิเคราะห์ unit/team profile • การวิเคราะห์นำไปสู่การกำหนดลำดับความสำคัญในการพัฒนาที่ตรงประเด็นและเครื่องชี้วัดที่เหมาะสม • มีการปรับปรุงตามโอกาสพัฒนาที่วิเคราะห์ได้และครอบคลุมประเด็นที่มีสำคัญสูง, มีการทบทวนโอกาสพัฒนา, มีความเข้าใจและการปฏิบัติในหน่วยงานหลักที่สำคัญ • การพัฒนาตามมาตรฐาน HA • มีกระบวนการที่ดี, ครอบคลุมประเด็นสำคัญ, มีโอกาสที่จะนำไปสู่ผลลัพธ์ตามเป้าหมายของมาตรฐาน, แกนหลักมีความเข้าใจ
เกณฑ์การตัดสิน บันไดขั้นที่ 2 • การใช้ core value & concept • มีการกำหนดความคาดหวังที่ชัดเจน, แกนนำสามารถอธิบายและยกตัวอย่างการนำไปปฏิบัติได้ • ทิศทางนำ:เด่นชัดในผู้นำระดับสูง • ผู้รับผล:ตอบสนองความต้องการที่สำคัญ • คนทำงาน:มีการทำงานเป็นทีมภายในหน่วยงาน/วิชาชีพ • การพัฒนา:ประยุกต์ใช้เครื่องมือและเทคนิคได้เหมาะสมกับปัญหา • พาเรียนรู้:เรียนรู้และพัฒนา • แนวคิดง่ายๆ • ทำงานประจำให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน • เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด
ลักษณะของการพัฒนาในบันไดขั้นที่ 3 • มีการนำมาตรฐาน HA ที่มาสู่การปฏิบัติอย่างครบถ้วน • มีการเชื่อมโยง การใช้นวตกรรม • มีการประเมินผล เรียนรู้ และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • แสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีขึ้นหรือการบรรลุเป้าหมายขององค์กร • มีวัฒนธรรมคุณภาพและวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้
จากสิ่งที่เรียบง่ายในธรรมชาติจากสิ่งที่เรียบง่ายในธรรมชาติ การตอบสนอง สิ่งเร้า
สู่ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์สู่ความสามารถในการเรียนรู้ของมนุษย์ ตอบสนอง ทบทวน เรียนรู้ สิ่งเร้า ปรับปรุง
และระบบที่ซับซ้อนขององค์กรและระบบที่ซับซ้อนขององค์กร แนวคิด/หลักการ การตอบสนอง สิ่งเร้า/บริบท การออกแบบ การเรียนรู้ แนวทาง/ตัวอย่าง การปรับปรุง
แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพแนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพ สิ่งที่กำกับอยู่ในใจ Do Core Value & Concept Action Plan Study ภูมิหลังของเรา Units Systems Patient Pop. HPH Objective/Indicator Design Context Learning เข็มทิศเดินทาง Standard/Criteria Improvement Act Customer & needs Capability & limitation Challenges
การทบทวนในบันไดขั้นที่ 1 Risk & Safety Teamwork Customer แนวคิด/หลักการ ตอบสนอง ทบทวน เรียนรู้ เหตุการณ์ แนวทาง/ตัวอย่าง ปรับปรุง
แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพแนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพ สิ่งที่กำกับอยู่ในใจ Core Value & Concept Action โลกที่เป็นจริง Units Systems Patient Pop. HPH Context Design Learning เข็มทิศเดินทาง Standard/Criteria Improvement
Core Values & Concept Visionary Leadership System Perspective Agility Patient Focus Focus on Health Community Responsibility Value on Staff Individual Commitment Teamwork Ethic & Professional Standard ทิศทางนำ ผู้รับผล คนทำงาน การพัฒนา พาเรียนรู้ Creativity & Innovation Management by Fact Continuous Process Improvement Focus on Results Evidence-based Approach Learning Empowerment
Core Values & Concept in Clinical Tracer Visionary Leadership System Perspective Agility Patient Focus Focus on Health Community Responsibility Value on Staff Individual Commitment Teamwork Ethic & Professional Standard ทิศทางนำ ผู้รับผล คนทำงาน การพัฒนา พาเรียนรู้ Creativity & Innovation Management by Fact Continuous Process Improvement Focus on Results Evidence-based Approach Learning Empowerment
หลักง่ายๆ ชุดที่หนึ่ง (งานประจำ) • ทำงานประจำให้ดี (Commitment) • มีอะไรให้คุยกัน (Team Work) • ขยันทบทวน (Learning, Continuous Improvement)
หลักง่ายๆ ชุดที่สอง (การพัฒนา) • เป้าหมายชัด (Visionary Leadership) • วัดผลได้ (Focus on result, Management by Fact) • วัดตรงประเด็น อย่าให้เป็นภาระ • ให้คุณค่า (Focus on Patient, Focus on Health) • อย่ายึดติด (Creativity & Innovation, Agility) • อย่าติดรูปแบบ • ลอกเลียนได้ แต่ต้องปรับให้เข้ากับของเรา • ไม่เลือกบุคคล สถานที่ เวลา
เป้าหมายชัด • เป้าหมายทำให้งาน “ว้า น่าเบื่อ” เป็นงาน “ว้าว” • เป้าหมายมีได้ในทุกเรื่อง ทุกระดับ • เป้าหมายหาได้เพียงถามว่า “ทำไปทำไม” • ทำไมต้องมีคลินิกเบาหวาน • ทำไมต้องตรวจตลาด • ทำไมต้องกวาดล้างยุงลาย • ต่อจากเป้าหมายคือการถามว่า“แล้วทำตามเป้าหมายได้ผลดีเพียงใด”
วัด (ประเมิน) ผลได้ • การประเมินที่ตรงประเด็น คือประเมินเปรียบเทียบกับเป้าหมาย • การประเมินที่ไม่เป็นภาระคืออย่ารีบกระโดดไปหาตัวชี้วัด • การประเมินด้วยวิธีการเชิงคุณภาพเป็นเรื่องที่ทำได้ง่าย ทำให้เห็นประเด็นได้ครอบคลุม
ประเด็นสำคัญ จุดแข็งจุดอ่อน จัดลำดับความสำคัญ ประเมินด้วยความรู้สึก แปลงความรู้สึกเป็นคะแนน เลือกบางเรื่องมาติดตามตัวชี้วัด
ประเด็นสำคัญ Psychosocial Support ARV continuity OI Prevention + การรวมกลุ่ม self help group - การยอมรับของครอบครัว/ชุมชน - มีบางคนยังไม่ยอมเข้าร่วมกลุ่ม Concern/จุดแข็งจุดอ่อน + การรวมกลุ่ม self help group - การยอมรับของครอบครัว/ชุมชน - มีบางคนยังไม่ยอมเข้าร่วมกลุ่ม จัดลำดับความสำคัญ ประมาณว่ามีครอบครัวอยู่ในแต่ละระดับเป็นสัดส่วนเท่าใด ประเมินด้วยความรู้สึก แปลงความรู้สึกเป็นคะแนน ระดับการยอมรับและช่วยเหลือของครอบครัว 1. ทอดทิ้งไปเลย 2. อยู่ระหว่างการทำใจ 3. ยอมรับ แต่ขาดศักยภาพ 4. มีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน เลือกบางเรื่องมาติดตามตัวชี้วัด
ประเมิน HPในชุมชน • ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน • เมินเฉย (Ignorance) • ให้ทำอะไรก็ทำ (Passive) • ค้นหาตัวเอง • คิดเอง ทำเอง (Proactive) • มีสัดส่วนของชุมชนในแต่ละกลุ่มเท่าไร • จะเลือกทำอะไร กับชุมชนใด
ให้คุณค่า: การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วย • สถานการณ์ “ผู้ป่วยเป็นเบาหวานและไตวาย แพทย์สั่งอาหารเบาหวานและลดเค็ม” • พยาบาลวางแผนให้สุขศึกษาเรื่อง “ลดอาหารเค็มจัด” • คำถามเพื่อตรวจสอบการทำงาน • สิ่งที่สอนนั้นจะเกิดผลในทางปฏิบัติหรือไม่? • ถ้าไม่ได้ มีข้อจำกัดอะไร จะร่วมกันหาทางออกอย่างไร? • ผู้ป่วยจะรู้ได้อย่างไรว่าปฏิบัติได้ในระดับที่เหมาะสม?
ไม่เลือก บุคคล สถานที่ เวลาคุณภาพและคุณค่าในทุกลมหายใจ • Lab สามารถทำอะไรได้บ้างในระหว่างเจาะเลือดผู้ป่วย DM • คุยกับผู้ป่วย • “ครั้งที่แล้วผลน้ำตาลเป็นอย่างไร” • “ค่าที่ได้มีความหมายว่าอย่างไร” • “คุณหมอ/พยาบาลแนะนำว่าอย่างไร” • “ทำได้ตามที่แนะนำหรือเปล่า” • Feedback ข้อมูลสำคัญกลับไปให้แพทย์/พยาบาล • เล่าเรื่องสนุกๆ ให้ผู้ป่วยฟัง • เจ้าตัวคือผู้ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด • ความสัมพันธ์ระหว่างอาหาร การออกกำลัง กับ น้ำตาล
แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพแนวคิดเชิงระบบในการพัฒนาคุณภาพ สิ่งที่กำกับอยู่ในใจ Core Value & Concept Action โลกที่เป็นจริง Units Systems Patient Pop. HPH Context Design Learning เข็มทิศเดินทาง Standard/Criteria Improvement
บริบทของโรงพยาบาลชุมชนบริบทของโรงพยาบาลชุมชน • ลักษณะของ รพ.ชุมชน (ที่แตกต่างจาก รพ.ระดับอื่น) • ลักษณะเฉพาะของ รพ. แต่ละแห่ง • เป้าหมายสำคัญ/ปัญหาท้าทายที่โรงพยาบาลต้องเผชิญ • ข้อจำกัด • โรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ โรคที่เป็นโอกาสพัฒนา • ผู้ป่วย/ผู้รับผลงานสำคัญ ความต้องการของแต่ละกลุ่ม ความซับซ้อนของผู้ป่วย • ลักษณะโดยรวมของบุคลากร อายุ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ • สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม เครือข่าย การมีส่วนร่วม • อื่นๆ • จากบริบทที่วิเคราะห์ได้แต่ละประเด็น ทำให้เห็นจุดที่ควรใส่ใจในเรื่องคุณภาพอะไรบ้าง
ทบทวนคุณค่าของการทบทวนทบทวนคุณค่าของการทบทวน ความรู้สึกต่อการทบทวน ปัญหาในการทบทวน ? วิธีการสร้างสรรค์ที่นำมาใช้ คุณค่าของการทบทวน
รวมทั้งรพ. ทั้งระดับรพ. และระดับหน่วย ทำในแต่ละหน่วย ลดภาระในการทบทวนของแต่ละหน่วย 1. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย 2. การทบทวนความคิดเห็น/คำร้องเรียนของผู้รับบริการ 3. การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา 4. การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชำนาญกว่า 5. การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง 6. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 7. การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 8. การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สำคัญ 9. การทบทวนความสมบูรณ์ของเวชระเบียน 10. การทบทวนการใช้ความรู้ทางวิชาการ 11. การทบทวนการใช้ทรัพยากร 12. การติดตามเครื่องชี้วัดสำคัญ
เหตุการณ์ Root cause ระบบที่เกี่ยวข้อง ความคาดหวังต่อระบบที่ดี นำเหตุการณ์/อุบัติการณ์มาเล่าสู่กันฟัง
จุดพลังและสร้างคุณค่าจุดพลังและสร้างคุณค่า ยกตัวอย่างรูปธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ? หาวิธีการทำให้ดียิ่งขึ้น ระบุประเด็นที่ยังไม่เห็นทางออก
จากบทเรียนของบุคคล ไปสู่กลุ่มและองค์กร เรียนรู้ ทำงาน แลกเปลี่ยน สรุปบทเรียน เก็บลงฐานข้อมูล ทำสื่อเรียนรู้ ขยายการเรียนรู้ เอาความรู้ฝังเข้าไป ในงานและบริการ
ถามตนเองทุกวัน หัวหน้าพาทำ ทำไมเรายังต้องพัฒนาคุณภาพ วันพรุ่งนี้ตัวเราเองจะทำอะไรให้ดีขึ้น จะทำให้งานของเราง่ายขึ้นได้อย่างไร จะช่วยให้เพื่อนของเราทำงานได้ง่ายขึ้นอย่างไร จะทำให้ลูกค้าของเราได้รับคุณค่ามากขึ้นได้อย่างไร เราทำหน้าที่ตามเป้าหมายของหน่วยงานและองค์กรได้สมบูรณ์หรือยัง
ทบทวนการ ดูแลรักษา หาโอกาสสอดแทรก การสร้างเสริมสุขภาพ C3THER Holistic Empowerment Lifestyle Prevention จากทำให้ สู่ช่วยให้ทำเองได้ Empower ผู้ป่วยและครอบครัว พิจารณาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ป้องกันมิให้เป็นซ้ำ ป้องกันสำหรับคนอื่น ต่อเชื่อมกับกิจกรรมในชุมชน
ทำกิจกรรม ตามนโยบาย ทำงานนโยบาย ให้มีคุณภาพ กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน กำหนดผลลัพธ์ที่ต้องการ ติดตามวัด ประเมินผล ปรับปรุงให้ได้ผล -พฤติกรรม -การดูแลตนเอง -ผลลัพธ์สุขภาพ
ทำจากแรง กระตุ้นภายใน ทำเพราะถูกสั่ง ไม่สั่งก็ทำ ไม่มีคนอื่นทำ ก็ทำคนเดียว ทำจนเป็นความเคยชิน ทำจนความคิดและพฤติกรรมเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น ชวนกันทำมากขึ้น
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? หัวใจสำคัญของการทบทวนขณะดูแลผู้ป่วยคืออะไร เพิ่มความไวในการค้นหาปัญหาของผู้ป่วย ตอบสนอง/แก้ปัญหาของผู้ป่วยในทันที เรียนรู้จากสิ่งที่ผู้ป่วยแต่ละคนหยิบยื่นให้ เรียนรู้จากมุมมองของวิชาชีพอื่น เห็นประเด็นที่จะนำไปปรับปรุงระบบงาน
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? ทุกหน่วยงานจะต้องทบทวนเรื่องนี้หรือไม่ - หน่วยงานที่จะได้ประโยชน์จากการทบทวนนี้มากที่สุด คือหอผู้ป่วย หรือ ห้องสังเกตอาการ ซึ่งมีระยะเวลาสัมผัสกับผู้ป่วยนานพอ - หน่วยงานอื่นๆ อาจจะประยุกต์แนวคิดนี้ไปใช้ได้ - หน่วยงานเช่น OPD, ER,ทันตกรรม มีวิธีการอื่นที่ ให้ประโยชน์ เช่น Trauma Audit, Retrospective Review
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? จะต้องทบทวนให้ครบ C3THERทุกครั้งหรือไม่ - C3THER เป็นเพียงเครื่องเตือนใจเพื่อความครบถ้วน ในการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ - ในขั้นฝึกปฏิบัติ ควรทบทวนให้ครบทุกประเด็น - เมื่อเข้าใจเป้าหมายและมีทักษะในการมองปัญหาดีแล้ว อาจจะเลือกทบทวนเฉพาะประเด็นสำคัญของผู้ป่วยแต่ละราย - เมื่อคล่องแล้ว อาจจะใช้สูตรเตือนใจอื่นๆ ก็ได้
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? จำเป็นต้องทบทวนโดยทีมสหสาขาวิชาชีพหรือไม่ - ทีมสหสาขาวิชาชีพ ช่วยให้เกิดมุมมองที่หลากหลาย และช่วยในการประสานแผนการดูแลผู้ป่วย มีความจำเป็นในผู้ป่วยที่ซับซ้อน - การรอทบทวนโดยทีมสหสาขาวิชาชีพเพียงอย่างเดียว อาจจะทำให้เสียโอกาสในการเรียนรู้จากผู้ป่วย - แนะนำให้ทบทวนในทุกโอกาสที่เป็นไปได้ เมื่อมีเวลาว่าง, หรือระหว่างที่ให้การดูแล/รักษา/พยาบาลผู้ป่วย จะเป็นโดยคนคนเดียว หรือร่วมกับเพื่อนก็ได้
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? ควรทบทวนบ่อยเพียงใด - ทุกคนที่ขึ้นทำงานกับผู้ป่วย ควรฝึกทบทวนในทุกโอกาสที่ทำได้ ไม่ต้องรอคนอื่น สามารถทำได้ทุกวัน - การทบทวนร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ควรทบทวนทุกสัปดาห์ ถ้าเป็นไปได้ - ในการตรวจเยี่ยมผู้ป่วยร่วมกันระหว่างแพทย์กับพยาบาล ก็สามารถฝึกซ้อมการทบทวนในบางประเด็นที่สังเกตเห็นได้
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? จะบันทึกข้อมูลอย่างไร - R คือส่วนหนึ่งของการทบทวนเวชระเบียน ถ้าเวชระเบียนไม่สมบูรณ์ ก็ควรบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ - ถ้าการทบทวนพบปัญหาบางอย่างที่มองข้ามไป ก็ควรบันทึกสิ่งที่พบเห็นและการดูแลผู้ป่วยที่เพิ่มเติมขึ้นมานั้นในเวชระเบียน - อาจพบว่าบางกรณีมีความน่าสนใจที่ควรบันทึกไว้เรียนรู้ในอนาคต ก็ควรจดบันทึกไว้ต่างหาก หากยินดีเผื่อแผ่ให้เพื่อนๆ ในโรงพยาบาลอื่นได้รับรู้ พรพ.ก็พร้อมที่จะเป็นตัวกลางให้
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? จะเชื่อมโยงกับเรื่องความเสี่ยงทางคลินิกอย่างไร - การพิจารณาว่าผู้ป่วยรายนั้นมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนอะไร มีอะไรที่เราละเลยไป คือการค้นหาความเสี่ยงทางคลินิก - การที่เราตอบสนองต่อความเสี่ยงที่ค้นพบ คือการจัดการกับความเสี่ยงเพื่อป้องกันผลที่ไม่พึงประสงค์ - ข้อมูลที่พบเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการป้องกันความเสี่ยงสำหรับผู้ป่วยที่มีลักษณะคล้ายกัน
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? ถ้าไม่มีการบันทึกข้อมูลการทบทวนต่างหาก จะรวบรวมความเสี่ยงทางคลินิกอย่างไรให้ครบถ้วน • - การบันทึกข้อมูลสรุปความเสี่ยงที่พบไว้อย่างง่ายๆ จะช่วยให้การวิเคราะห์ความเสี่ยงทางคลินิกทำได้ง่ายและครบถ้วนมากขึ้น • มีวิธีการอื่นๆ ที่เราสามารถระบุความเสี่ยงทางคลินิกได้ • - ทบทวนจากประสบการณ์ของทีมงาน • - ตรวจเยี่ยมเพื่อค้นหาความเสี่ยงเป็นการเฉพาะ • - ทบทวนจากเวชระเบียน • - รวบรวมจากรายงานอุบัติการณ์ • - วิเคราะห์จาก flow chartในการดูแลโรคนั้น
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? ผู้ประเมินจะทราบอย่างไรว่า รพ. มีการทบทวน - ดูเวชระเบียน เห็นบันทึกการดูแลที่ครอบคลุม - ถามทีมงาน ได้รับบทเรียนอะไรจากการทบทวน การทบทวนนำมาสู่การปรับปรุงที่สำคัญอะไรบ้าง - ดูผู้ป่วยที่น่าสนใจ ทีมงานเห็นประเด็นที่ควรจะเห็นหรือไม่
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? การทำ M&M Conferenceใช้แทนได้หรือไม่ - M&M Conference เทียบได้กับการทบทวนอุบัติการณ์ที่รุนแรง ซึ่งนานๆ ครั้งจะเกิดขึ้น - M&M Conference เป็นการทบทวนหลังจากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์แล้ว มิใช่การทบทวนระหว่างการดูแลผู้ป่วย
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? จำเป็นหรือไม่ที่ต้องทบทวนข้างเตียงผู้ป่วย - การดูผู้ป่วยที่ข้างเตียง จะได้รับข้อมูลมากกว่าการรับฟังการนำเสนอในห้องประชุม - การอภิปรายในทีม ไม่ควรกระทำที่ข้างเตียงผู้ป่วย - อย่าหลงประเด็นสับสนกับการทำ Journal Clubซึ่งเป็นการทบทวนความรู้ทางวิชาการที่ควรทำ แต่ไม่ควรดึงทีมออกมาจากการดูสภาพจริงที่ตัวผู้ป่วย
การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER)การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย(C3THER) ? คาดหวังว่าจะต้องนำผลการทบทวนไปใช้แค่ไหน ปรับปรุงการดูแลผู้ป่วยรายนั้นทันที ปรับปรุงระบบงานที่เกี่ยวข้อง สื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจเหตุผลของการปรับระบบงาน จัดระบบที่จะให้มีการเรียนรู้ร่วมกันในอนาคต ทุกคนมีความไวมากขึ้นในการตรวจจับปัญหา
จุดพลังและสร้างคุณค่าจุดพลังและสร้างคุณค่า ยกตัวอย่างรูปธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ? หาวิธีการทำให้ดียิ่งขึ้น ระบุประเด็นที่ยังไม่เห็นทางออก
วางระบบ ทบทวน จากคอยไล่ดับไฟ สู่การป้องกันไฟ จากการแก้ไขเป็นรายๆ สู่ความครอบคลุมทุกๆ ราย