660 likes | 1.52k Views
เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม. ดร. ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ์ ผู้ช่วยประธานสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. 9 ธันวาคม 2550. ขอบเขตการนำเสนอ. เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศ เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำ เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษของเสียและขยะอันตราย กลไกการพัฒนาที่สะอาด ( Clean Development Mechanism).
E N D
เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ดร. ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ์ ผู้ช่วยประธานสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 9 ธันวาคม 2550
ขอบเขตการนำเสนอ • เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศ • เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำ • เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษของเสียและขยะอันตราย • กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism)
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศ ระบบควบคุมสารมลพิษทางอากาศ อุปกรณ์ควบคุมฝุ่น • Gravity Setting Chambers • Cyclone • Wet collectors: ขจัดออกโดยน้ำหนักหยดน้ำหรือแรงเหวี่ยง • Fabric filter: baghouse filter • Electrostatic precipitator (ESP)
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศ ระบบควบคุมสารมลพิษทางอากาศ อุปกรณ์ควบคุมก๊าซ ไอ • การดูดซับ (adsorption) • การดูดกลืน (absorption) • การเผาทำลาย (incineration)
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศ การควบคุมออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) • การปรับปรุงเชื้อเพลิง: • ใช้เชื้อเพลิงที่มีไนโตรเจนต่ำ • การกำจัดไนโตรเจนในเชื้อเพลิง ด้วยการกลั่น/การทำให้แตกตัว • การปรับปรุงการเผาไหม้ • ลดความเข้มข้นของออกซิเจน • ลดอุณหภูมิเปลวไฟ • ลดระยะเวลาอยู่ในเตา
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศ การควบคุมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) • ใช้เชื้อเพลิงที่มีซัลเฟอร์ต่ำ เช่น ก๊าซธรรมชาติ หรือถ่านหินที่มีซัลเฟอร์ต่ำ • การปรับปรุงคุณภาพของเชื้อเพลิงถ่านหิน • Coal Gasification • Coal Liquefaction • Coal Cleaning • การกำจัดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในไอเสีย (Fuel Gas Desulfurization)
การกำจัดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในไอเสียการกำจัดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในไอเสีย
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศ การเผาทำลาย (Incineration) ประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับ • Time • Temperature • Turbulence
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษอากาศ การเผาทำลาย (Incineration) ประเภทของเตาเผา • Incineration • Pyrolysis กระบวนการเผาแบบไม่ใช้ออกซิเจน • Gasification: fluidized bed, rotary kiln
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำ influent Secondary treatment Primary treatment Tertiary treatment effluent
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำ การบำบัดขั้นต้น (Primary treatment) • การบำบัดทางกายภาพ-เคมี • ตะแกรงหยาบ • ตะแกรงละเอียด • ถังดักกรวดทราย • การตกตะกอนขั้นต้น
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำ • 1. การบำบัดทางกายภาพ-เคมี • การตกตะกอน • ออกซิเดชัน-รีดักชัน • การปรับพีเอช • การรวมตะกอน • การตกตะกอนฟอสฟอรัส การบำบัดขั้นที่สอง (Secondary treatment)
แผนผังแสดงระบบบำบัดทางกายภาพ-เคมีแผนผังแสดงระบบบำบัดทางกายภาพ-เคมี
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำ • 2. การบำบัดทางชีวภาพ • ระบบเอเอส (Activated Sludge) • ระบบโปรยกรอง (Trickling filter) • ระบบแผ่นหมุนชีวภาพ (Rotating Biological Contactors, RBC) • ระบบบ่อผึ่ง (Oxidation pond) • ระบบถังกรองไร้อากาศ (Anaerobic filter) • ระบบยูเอเอสบี (Upflow Anaerobic Sludge Blanket) การบำบัดขั้นที่สอง (Primary treatment)
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำ การบดสลัดจ์ การทำข้นสลัดจ์ การปรับเสถียรสลัดจ์ 1. การเติมสารเคมี 2. การใช้ความร้อน 3. การย่อยสลัดจ์ การบำบัดสลัดจ์ • การรีดน้ำสลัดจ์ • การตากแห้ง • การหมักทำปุ๋ย • การเผาสลัดจ์ • การฝังกลบ
เทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำเทคโนโลยีการบำบัดมลพิษน้ำ การเติมคลอรีน โอโซน แสงอัลตราไวโอเลต การฆ่าเชื้อโรค
เทคโนโลยีการจัดการขยะ/ขยะอันตรายเทคโนโลยีการจัดการขยะ/ขยะอันตราย การคัดแยก ขยะย่อยสลายได้ ขยะทั่วไป ขยะอันตราย ขยะรีไซเคิล การรวบรวมและขนส่ง การบำบัด ทำเสถียร/ทำให้เป็นกลาง การเผา การฝังกลบอย่างปลอดภัย การนำไปรีไซเคิล การทำปุ๋ยหมัก การฝังกลบอย่างถูกสุขาภิบาล การกำจัด
ระบบการจัดการกากอุตสาหกรรมระบบการจัดการกากอุตสาหกรรม • แหล่งกำเนิดกากอุตสาหกรรม • การเก็บกักกากอุตสาหกรรม ณ แหล่งกำเนิด • การเก็บรวบรวมและขนส่งกากอุตสาหกรรม • การบำบัดกากอุตสาหกรรม • การกำจัดกากอุตสาหกรรม
การไล่ด้วยอากาศ (air stripping) การไล่ด้วยไอน้ำ (stream stripping) การสกัดสารระเหยง่ายจากดิน (soil vapor extraction) การดูดซับด้วยถ่านกัมมันต์ (activated carbon adsorption) การออกซิเดชั่นรีดักชั่นเคมี (chemical oxidation and reduction) การกรองด้วยเยื่อกรอง (membrane filtration) การตกตะกอนทางเคมี (precipitation) การทำก้อนแข็งและการปรับเสถียร (solidification and stabilization) เทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรม การบำบัดด้วยวิธีทางกายภาพและเคมี
เทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรม การทำก้อนแข็งและการปรับเสถียร (solidification and stabilization) การปรับเสถียร= การเติมสารเคมีลงไปในของเสียเพื่อลดโอกาส ของการแพร่กระจายหรือการเคลี่อนที่ของสารพิษ การทำเป็นก้อนแข็ง = การเปลี่ยนสถานะของของเสียอันตรายจาก ของเหลวหรือกึ่งเหลวให้เป็นของแข็งโดยการเติมสารเคมี
Bioventing: กระบวนการอัดอากาศลงไปในดินเพื่อให้จุลินทรีย์ที่อยู่ในดินย่อยสลายสารอินทรีย์ที่ปนเปื้อนในดิน Biosparging: การอัดอากาศภายใต้ความดันสูงไปสู่ดินในระดับอิ่มตัวด้วยน้ำ เพื่อให้เกิดการย่อยสลายสารที่ปนเปื้อนในดิน Phytoremediation: การใช้พืชในการฟื้นฟูสภาพของสารประกอบอันตราย ณ สถานที่กำจัดต่างๆ Biological detoxification: การทำลายพิษทางชีวภาพด้วยการใช้เอนไซม์ที่ผลิตมาจากจุลชีพ เทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรม การบำบัดด้วยวิธีทางชีวภาพ
เทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรม การฝังกลบอย่างปลอดภัย (security landfill) ภาพขยายพื้นที่ฝังกลบของเสีย
รูปตัดพื้นที่ฝังกลบมูลฝอยที่สมบูรณ์รูปตัดพื้นที่ฝังกลบมูลฝอยที่สมบูรณ์ เทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรม
วัสดุที่ใช้ในการสร้าง Secured Landfill เทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรม • วัสดุที่ใช้ในการสร้าง Secured Landfill ประกอบด้วยดินที่มีค่าการซึมผ่านได้ต่ำและมีค่าการซึมผ่านได้สูงและวัสดุสังเคราะห์ซึ่งมีค่าการซึมผ่านได้ต่ำซึ่งจะช่วยป้องกันการซึมผ่านของน้ำชะละลายสู่น้ำใต้ดินหรือพื้นที่ข้างเคียงและการซึมของน้ำฝนสู่ของเสียส่วนวัสดุที่มีค่าการซึมผ่านได้สูงใช้สำหรับรวบรวมน้ำออกจากพื้นที่และอาจใช้วัสดุอื่นๆเพื่อเพิ่ม slope stability
วัสดุที่ใช้ในการสร้าง Secured Landfill เทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรม • ชั้นกันซึมน้ำ Barrier Layer • อาจใช้ดินที่มีค่าการซึมผ่านได้ต่ำ (ดินเหนียว) หรือใช้วัสดุปูพื้นสังเคราะห์ (Geosynthetic Clay Liners-GCLs) โดยอาจใช้ Geomembrane Liner ที่มีความยืดหยุ่นปูทับชั้น Barrier Layer สำหรับดินที่ใช้ในการปูชั้นกันซึมมักใช้ดินเหนียวที่มีค่าการซึมผ่านไม่เกิน 1 X 10-7ซม./วินาที • ชั้นระบายน้ำ Drainage Layer • ใช้ท่อรวบรวมน้ำเสียขนาดไม่ต่ำกว่า 4 นิ้วเจาะรูหุ้มด้วยแผ่นกรองใยสังเคราะห์ และวางในชั้นกรวดที่มีอัตราการซึมผ่านไม่น้อยกว่า 10-3ซม./วินาที หนาไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร
เทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรม การออกแบบชั้นกลบทับสุดท้าย • ชั้นย่อยล่างสุด มักเป็นดินหรือวัสดุที่มีความซึมน้ำได้ดี ใช้ถมทับ • มูลฝอยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างผิวหน้าที่เรียบ ชั้นย่อยระหว่างกลาง เป็นดินหรือวัสดุกลบทับที่มีความซึมน้ำต่ำ มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำผิวดินหรือน้ำฝนซึมผ่านลงสู่หลุมมูลฝอย ชั้นย่อยบนสุด เป็นดินที่มีความสามารถในการอุ้มความชื้น ความหนาแน่นและปริมาณแร่ธาตุเหมาะสมสำหรับการปลูกหญ้าหรือพืชอื่น ทำหน้าที่คลุมพื้นที่ให้แลดูสวยงาม และสามารถปรับใช้พื้นที่ให้เป็นสวนสาธารณะ สนามกอล์ฟ และอื่น ๆ
เทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการบำบัดกากอุตสาหกรรม การบำบัดน้ำชะของเสีย • การหมุนเวียนน้ำชะของเสียกลับมาใช้ในพื้นที่ฝังกลบ (leachate re-circulation) • การใช้บ่อระเหย (evaporation pond) • การใช้ระบบบำบัดทางฟิสิกส์-เคมี เช่น การตกตะกอนทางเคมี การดูดซับ การเผา เป็นต้น • การใช้ระบบบำบัดทางชีวภาพ เช่น ระบบบ่อผึ่ง บ่อเติมอากาศ ระบบตะกอนเร่ง เป็นต้น
กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism) • ช่วยให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนในประเทศนอกภาคผนวก 1 • ช่วยให้ประเทศในภาคผนวก 1 สามารถปฏิบัติตามพันธกรณีในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นไปตามเป้าหมาย
ก๊าซเรือนกระจก: Carbon dioxide (CO2); Methane (CH4); Nitrous oxide (N2O); Hydrofluorocarbons (HFCs); Perfluorocarbons (PFCs); and Sulphur hexafluoride (SF6)
Kyoto Mechanismกลไกพิธีสารเกียวโต Joint Implementation(JI) Clean Development Mechanism (CDM) Emission Trading(ET)
ขอบคุณค่ะ ดร. ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ์ ผู้ช่วยประธานสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถ.บอนด์สตรีท ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 website: http://www.tei.or.th