150 likes | 274 Views
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ. การมีภาครัฐบาล มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจ 2 ด้านคือ การใช้จ่ายของรัฐบาล การเก็บภาษีของรัฐบาล การใช้จ่ายและเก็บภาษีของรัฐบาลมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจทั้งในแง่เพิ่มและลดรายได้ประชาชาติ การใช้จ่ายของรัฐ ช่วยเพิ่มรายได้ นั่นคือ เศรษฐกิจขยายตัว
E N D
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ • การมีภาครัฐบาล มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจ 2 ด้านคือ • การใช้จ่ายของรัฐบาล • การเก็บภาษีของรัฐบาล • การใช้จ่ายและเก็บภาษีของรัฐบาลมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจทั้งในแง่เพิ่มและลดรายได้ประชาชาติ • การใช้จ่ายของรัฐ ช่วยเพิ่มรายได้ นั่นคือ เศรษฐกิจขยายตัว • การเก็บภาษีของรัฐ ทำให้รายได้ลดลง นั่นคือ เศรษฐกิจหดตัว
การใช้จ่ายของรัฐช่วยให้เศรษฐกิจขยายตัวการใช้จ่ายของรัฐช่วยให้เศรษฐกิจขยายตัว Y = C + I + G C + I+ G C + I Y1 Y2
ผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐบาลผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐบาล • ถ้ารัฐบาลเพิ่มค่าใช้จ่ายมากขึ้น เศรษฐกิจก็จะขยายตัว • ถ้ารัฐบาลลดค่าใช้จ่ายลง รายได้ประชาชาติและเศรษฐกิจก็จะลดลง • ผลกระทบขึ้นกับตัวทวีคูณ (multiplier) Y = a + mpcY + I + G …(1) (1-mpc)Y = a + I + G mpsY = a + I + G Y = (a + I + G)/mps …(2)
ผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐบาลผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐบาล • ถ้าเรา dif สมการที่ 2 เทียบกับ I หรือ G จะพบว่า รายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนไป (เศรษฐกิจจะขยายหรือหดตัว) เท่ากับ 1/mps นั่นคือ Y = 1/mps * G …(1) • ค่า 1/mps คือ ตัวทวีคูณรายได้ประชาชาติเช่น ถ้า mps = 0.25 ทุกๆ บาทของงบประมาณรัฐบาลจะทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น 4 บาท
การเก็บภาษีของรัฐบาล • การเก็บภาษีมีผลให้รายได้ที่จับจ่ายใช้สอยได้ของประชาชนลดลงจึงมีผลกระทบต่อรายได้ Y =a + mpc(Y-T) + I + G Y = (a – mpc*T + I + G)/mps Y = a + mpc(Y-tY) + I + G Y = a + mpc*t*Y + I +G Y = (a + I + G)/(1 - mpc*t)
การเก็บภาษีของรัฐบาล • จะเห็นว่าตัวทวีคูณรายได้ประชาติในกรณีการเก็บภาษีเป็นสัดส่วนตามรายได้มีผลให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงไปน้อยกว่ากรณีการไม่เก็บภาษีหรือเก็บภาษีแบบเหมาจ่าย 1/mps มากกว่า 1/(1 - mpc*t)
ผลจากการใช้จ่ายและเก็บภาษีของรัฐบาลผลจากการใช้จ่ายและเก็บภาษีของรัฐบาล C + I+ G CT + I+ G C + I CT + I Y1 Y4
นโยบายการคลังของรัฐบาลนโยบายการคลังของรัฐบาล • รัฐดำเนินนโยบายการคลังโดยการควบคุมค่าใช้จ่ายของรัฐและการกำหนดภาษี • รัฐสามารถทำให้การว่างงานลดลงหรือมีการจ้างงานเต็มที่ได้ด้วยการดำเนินนโยบายการคลัง • รัฐบาลจะไม่จ่ายงบประมาณมากจนกระทั้งเกิดเงินเฟ้อบริสุทธิ์ (Pure Inflation)
นโยบายการคลังของรัฐบาล (Fiscal Policy) C + I+ G’ C + I+ G C + I Y1 Y2 Y3
การกำหนดนโยบายการคลังของรัฐบาลการกำหนดนโยบายการคลังของรัฐบาล • การเพิ่มค่าใช้จ่ายของรัฐบาลมีผลให้รายได้ประชาชาติเพิ่ม • การเก็บภาษีทำให้รายได้ประชาชาติลดลง • รัฐบาลต้องเก็บภาษีมาเป็นค่าใช้จ่าย • รัฐบาลสามารถดำเนินกำหนดนโยบายได้ 3 ทาง • นโยบายได้ดุล รัฐใช้จ่ายเท่ากับภาษีที่เก็บได้ • นโยบายเกินดุล รัฐใช้จ่ายน้อยกว่าที่เก็บภาษีได้ • นโยบายขาดดุล รัฐใช้จ่ายมากกว่าภาษีที่เก็บได้
การกำหนดนโยบายการคลังของรัฐบาลการกำหนดนโยบายการคลังของรัฐบาล • การใช้นโยบาย expansionary vs. contraction เพื่อแก้ปัญหาวงจรธุรกิจ (Business Cycle) • ช่วงเศรษฐกิจเจริญเติบโต (Blooming) ใช้นโยบาย contraction เก็บภาษีแก่ภาคธุรกิจที่เจริญมากไป • ช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ (Recession) ใช้นโยบาย expansionary ลดหย่อนภาษีแก่ธุรกิจที่ซบเซา
นโยบายการเงิน (Monetary Policy) • การควบคุมปริมาณเงิน (Money Supply) • M1 = general purpose money, narrow money ปริมาณเงินทั้งในรูปเหรียญกระษาปณ์และแบงค์ รวมกับ Demand Deposits (เช็ค) • M2= Broad money ซึ่งมีค่าเท่ากับ M1 + Saving and Time Deposits
Quantity Theory of Money • ราคาสินค้าและบริการสัมพันธ์กับปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ • เมื่อมีภาวะเงินเฟ้อ ประชาชนต้องการใช้เงินมากขึ้นเพื่อซื้อสินค้าและบริการ • ถ้ามีปริมาณเงินมาก ก็จะทำให้เกิดเงินเฟ้อ (หรือปริมาณเงินเป็นสาเหตุของเงินเฟ้อ) • P = k*M (ราคาเป็นสัดส่วนของปริมาณเงิน)
Quantity Theory of Money • ค่า k มีแนวคิดมาจาก “การหมุนเวียนของเงินในระบบเศรษฐกิจ (velocity of circulation)” V PQ/M นั่นคือ MV PQ P (V/Q)*M => P = k*M • Modernized Quantity Theory (โดย Milton Friedman) เห็นว่า V สามารถคาดคะเนค่าได้ ดังนั้น การควบคุม M ก็จะสามารถควบคุม GNP และเงินเฟ้อได้
นโยบายการเงินของรัฐบาล(โดยธนาคารแห่งชาติ)นโยบายการเงินของรัฐบาล(โดยธนาคารแห่งชาติ) • การควบคุมการพิมพ์เงิน (Fait Money Authority) • การกำหนดอัตราเงินสำรอง (Reserve Requirements) • การกำหนดอัตราคิดลด (Discount Rate) • การซื้อขายพันธบัตรของรัฐบาล (Open Market Operation) • การขอความร่วมมือ (Moral Suasion or Jawboning)