1 / 41

กรอบแนวคิดการประเมินผลการปฏิบัติงาน (ความหมาย ความสำคัญ และหลักการ)

ครั้งที่ 1. กรอบแนวคิดการประเมินผลการปฏิบัติงาน (ความหมาย ความสำคัญ และหลักการ). หลักการประเมินผลการปฏิบัติงาน การกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ องค์ประกอบและวิธีการประเมิน การนำผลการประเมินไปใช้. เนื้อหา. ทำไมต้องประเมินผลการปฎิบัติงาน การวัดผลงานในอดีต - ยุคใหม่

Download Presentation

กรอบแนวคิดการประเมินผลการปฏิบัติงาน (ความหมาย ความสำคัญ และหลักการ)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ครั้งที่ 1 • กรอบแนวคิดการประเมินผลการปฏิบัติงาน (ความหมาย ความสำคัญ และหลักการ) • หลักการประเมินผลการปฏิบัติงาน • การกำหนดเป้าหมาย • วัตถุประสงค์ • องค์ประกอบและวิธีการประเมิน • การนำผลการประเมินไปใช้

  2. เนื้อหา • ทำไมต้องประเมินผลการปฎิบัติงานการวัดผลงานในอดีต - ยุคใหม่ • ความหมาย หลักการประเมินผล และการนำผลการประเมินไปใช้ • การนำผลการประเมินไปใช้ • กระบวนการประเมินผลการปฎิบัติงาน • รายละเอียดขั้นตอนการประเมินผลการปฎิบัติงาน

  3. ทำไมต้องประเมินผลการปฎิบัติงานทำไมต้องประเมินผลการปฎิบัติงาน • ทำให้ทราบความสำเร็จในภารงานที่องค์กรมอบหมายและจุดแข็งและจุดอ่อน และพัฒนาการของพนักงานในองค์กรแต่ละคน เนื่องจากทรัพยากรการบริหารมีจำกัด ต้อง ดูว่าการใช้ทรัพยากรนั้นก่อให้เกิดความคุ้มค่าหรือไม่ และการประเมินผลที่ดีควรประเมินตนเองเปรียบเทียบกับผลการประเมินจาก ผู้ประเมินภายนอก

  4. ทำไมต้องประเมินผลการปฎิบัติงานทำไมต้องประเมินผลการปฎิบัติงาน • ข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลการปฏิบัติงาน จะนำไปจัดวางแผนการฝึกอบรม และพัฒนาพนักงาน ได้แก่ การกำหนดเป้าหมายพนักงานแต่ละคน กำหนดเกณฑ์การประเมิน และตัวชี้วัดรายบุคคล • กระบวนการที่เป็นระบบ ซึ่งถูกพัฒนาขึ้น เพื่อทำการวัดคุณค่าของบุคคลในการปฏิบัติงานภายในช่วงระยะเวลาที่กำหนดว่าเหมาะสมกับมาตรฐานที่กำหนด และรายได้ที่บุคคลได้รับจากองค์การหรือไม่ ตลอดจนใช้ประกอบการพิจารณาศักยภาพของบุคคลในการปฏิบัติงานในตำแหน่งที่สูงขึ้น

  5. การวัดผลงานในอดีต เน้นการวัดผลกำไรทางด้านการเงินอย่างเดียว ขณะที่รูปแบบการบริหารจัดการเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ตัดสินใจไม่ถูก มุ่งเน้นแต่การทำกำไร ระยะสั้น กรณี Low cost Airline การวัดผลไม่สอดคล้องกับกลยุทธ์องค์กร ละเลยปัจจัยอื่น ๆ เช่น ความพึงพอใจของลูกค้า ให้ความสำคัญหรือวัดผลงาน บุคลากรค่อนข้างน้อย วัดปัจจัยภายนอกน้อย

  6. การวัดผลงานในอดีต • การใช้ตัวชี้วัดไม่ถูกต้อง วัดง่ายเกินไป • เป็นการวัดผลงานในอดีตมากกว่าอนาคต • ตัวชี้วัดมากเกินไป จนไม่รู้ว่าอะไรสำคัญที่สุด

  7. การวัดผลงานยุคใหม่ • ตรวจสอบสถานะองค์กร : SWOT, Scorecard Cockpit,BSC • สื่อถึงสถานะองค์กร : Scorecard Cockpit, Ranking,Benchmarking,BSC • ยืนยันลำดับความสำคัญ : PMQA,TQA,Ranking,Benchmarking • นำไปขยายผล : Six Sigma,PA ระบบการวัดควรเน้นสิ่งที่ไม่ใช่การเงินเข้ามาด้วย เพื่อให้เกิดความสมดุล การวัดผลไม่เน้นตัวแปรเดียว เน้น บูรณาการในสิ่งที่เป็นปัจจัยเกี่ยวข้อง การวัดผลงานต้องสอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร

  8. เครื่องมือการวัดผลสมัยใหม่เครื่องมือการวัดผลสมัยใหม่ Balanced Scorecard Scorecard Cockpit TQA Six Sigma,PA Ranking Benchmarking

  9. ความหมาย ระบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อการติดตาม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานว่าบรรลุเป้าหมายของการปฏิบัติงานมากน้อยเพียงใด ซึ่งผลการประเมินที่ได้รับจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการทำงานของปฏิบัติงานในโอกาสต่อไป

  10. หลักการประเมินผลการปฎิบัติงานหลักการประเมินผลการปฎิบัติงาน เป็นกระบวนการต่อเนื่อง เป็นการประเมินค่าของผลการปฏิบัติงาน มีความเที่ยงตรง และเชื่อถือได้ มีการแจ้งผลของการประเมินแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง

  11. การนำผลการประเมินไปใช้การนำผลการประเมินไปใช้ • พิจารณาเลื่อนระดับตำแหน่ง • สื่อสารองค์กร ระหว่างผลการปฏิบัติงานรายบุคคล และผลประกอบการโดยรวมขององค์กร • สื่อสารผลงานของตนเองของพนักงานและผู้บริหาร พิจารณาปรับเงินเดือน มอบหมายงานเพิ่ม โอนย้ายตำแหน่งหน้าที่

  12. การนำผลการประเมินไปใช้การนำผลการประเมินไปใช้ เป็นข้อมูลย้อนกลับสำหรับพนักงานที่ได้รับรู้งานที่ต้องเองทำนั้นบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้หรือไม่ ต้องปรับปรุงในส่วนใดบ้าง เป็นเครื่องมือในการจัดสรรพยากรองค์กรที่มีอยู่อย่างจำกัด เช่น เงินเดือน โบนัส เงินสมทบประกันสังคม เป็นต้น เพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนการทำงาน ที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ กรณีที่พนักงานและผู้บริหารได้ทำข้อตกลงผลงาน ไว้ก่อน แล้วทำงานให้ได้ตามผลสัมฤทธิ์ สร้างจุดร่วมหรือมาตรฐานในการทำงาน

  13. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงาน กำหนดองค์ประกอบการประเมินผล ทบทวนบทบาทภารกิจ กำหนดเนื้องานหรือขอบข่ายที่มุ่งประเมิน แต่งตั้งผู้ทำการประเมิน กำหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน

  14. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงาน • คัดเลือกวิธีที่ใช้ในการประเมิน • ดำเนินการประเมินโดยใช้เทคนิควิธีการที่เหมาะสม • วิเคราะห์ผลการประเมิน • สรุปและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ และให้ข้อมูลย้อนกลับ • นำเสนอผู้บริการเพื่อประกอบการตัดสินใจ

  15. 1 : กำหนดองค์ประกอบการประเมินผล • ทบทวนแผนยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบัติงาน • เครื่องมือบริหารจัดการ BSC • ตำรา เอกสาร และงานวิจัย

  16. 1 : กำหนดองค์ประกอบการประเมินผล วัตถุประสงค์ของการประเมิน เป็นการกำหนดเป้าหมายของการประเมินซึ่งมีเป้าหมายที่แตกต่างกันได้แก่ พิจารณาความดี ความชอบ , เลื่อนขั้นเลื่อนเงินตำแหน่ง ลดขั้นลดตำแหน่ง โยกย้าย , พัฒนาศักยภาพบุคลากร, ศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน เนื้องานที่มุ่งประเมิน เป็นการประเมินวิเคราะห์งาน ความคาดหวังในงาน ข้อกำหนดเกี่ยวกับงาน ผลงานที่คาดหวังตลอดจนเนื้อหาสาระเพื่อให้ผู้ประเมินและผู้เข้ารับการประเมินเข้าใจตรงกัน

  17. 1 : กำหนดองค์ประกอบการประเมินผล มาตรฐานการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินเป็นการกำหนดสิ่งเปรียบเทียบผลงานเพื่อพิจารณาความสำเร็จของบุคคล ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินจะต้องกำหนดจากมาตรฐานการปฏิบัติงานหรือผลงานที่คาดหวังให้ชัดเจนและเป็นระบบ รวมถึงการจัดลำดับและให้น้ำหนักผลงาน ผู้ทำการประเมิน ซึ่งต้องมีระบบฝึกอบรมผู้ประเมิน เพื่อให้ทราบบทบาทหน้าที่และระเบียบวิธีการประเมิน

  18. 1 : กำหนดองค์ประกอบการประเมินผล วิธีการและเครื่องมือประเมินต้องให้สอดคล้องกับเป้าหมายการประเมิน มาตรฐาน ตัวชี้วัดรอบการประเมิน การให้ข้อมูลป้อนกลับเป็นการทบทวนหรือให้ข้อมูลร่วมกับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อแจ้งความก้าวหน้าให้ผู้รับการประเมินรวมทั้งวางแผนการพัฒนาต่อไป

  19. 1 : กำหนดองค์ประกอบการประเมินผล วัตถุประสงค์ของการประเมิน พิจารณาความดี ความชอบ เลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง องค์ประกอบที่ 1 เนื้องานที่มุ่งประเมิน ประเมินงานความคาดหวังในงาน ข้อกำหนดเกี่ยวกับงาน ผลงานที่คาดหวัง องค์ประกอบที่ 2

  20. 1 : กำหนดองค์ประกอบการประเมินผล มาตรฐานการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดน้ำหนัก เกณฑ์การประเมินผล องค์ประกอบที่ 3 • ผู้ทำการประเมิน • บทบาทหน้าที่ ระเบียบวิธีการประเมิน องค์ประกอบที่ 4

  21. 1 : กำหนดองค์ประกอบการประเมินผล วิธีการและเครื่องมือประเมิน ขั้นตอน/กระบวนการ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล องค์ประกอบที่ 5 การให้ข้อมูลป้อนกลับ ความก้าวหน้า วางแผนการพัฒนา องค์ประกอบที่ 6

  22. 2 ทบทวนบทบาทภารกิจ • บทบาทหน้าที่ตามกฏหมาย หรือระเบียบ มาตรฐานวิชาชีพ • ทิศทางองค์กร • วิสัยทัศน์ • เป้าหมาย • ยุทธศาสตร์ • แผนงาน โครงการ กิจกรรม

  23. 3 กำหนดเนื้องานหรือขอบข่ายที่มุ่งประเมิน • ผลสัมฤทธิ์ (Performance/Result) • ผลผลิต • ผลลัพธ์ • พฤติกรรมหรือสมรรถนะ (Competency) • สมรรถนะหลัก • สมรรถนะตามวิชาชีพ

  24. 3 กำหนดเนื้องานหรือขอบข่ายที่มุ่งประเมิน ผลสัมฤทธิ์ (Performance/Result) ผลผลิต (Output)เป็นผลที่เกิดขึ้นโดยตรงจากกิจกรรมที่หน่วยงานดำเนินการ หรือจัดผลผลิตอาจจะเป็นสิ่งของหรือการบริการ ที่ปรากฏชัดเจน และที่สำคัญกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการจัดกิจกรรมจะเป็นผู้ที่ได้รับประโยชน์จากผลผลิตโดยตรง ผลลัพธ์(Outcome)เป็นผลที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ในระดับนโยบาย หรือในระดับกว้าง บางครั้งเรียกได้ว่าเป็นผลผลิตในระดับกว้าง ส่งผลกระทบต่อสังคม เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน การมีงานทำของบัณฑิตที่จบการศึกษา สภาพสังคมที่เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ เป็นต้น ซึ่งผลงานที่เกิดขึ้นดังกล่าว จะต้องสอดคล้องกับนโยบายและจุดมุ่งหมายของหน่วยงาน

  25. ผลงาน : พฤติกรรมหรือสมรรถนะ (Competency) 3 กำหนดเนื้องานหรือขอบข่ายที่มุ่งประเมิน • ความร่วมมือในการทำงาน • ความสามัคคี • มนุษย์สัมพันธ์ • ความเสียสละ • ความอดทน และการรักษาวินัย

  26. 4 แต่งตั้งผู้ทำการประเมิน • หัวหน้าโดยตรงของผู้ถูกประเมิน (Immediate Supervisor) • หัวหน้างานโดยตรงของผู้ประเมิน  (Appraiser’s Immediate Supervisor) • เพื่อนร่วมงาน (Peers and Co – Workers) • ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาโดยตรง ( Immediate Subordinates) • ประเมินผลของตนเอง (Self)   • คณะกรรมการ (Committee) • ผู้เชี่ยวชาญการบริหารงานบุคคล  (Staff Personnel Specialists

  27. 5 กำหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้หรือตัวชี้วัดหลัก (Key Performance Indicators) : เครื่องมือที่ใช้ในการบ่งชี้ว่าองค์กรบรรลุเป้าหมายความสำเร็จในแต่ละยุทธศาสตร์ ในแต่ละตัวชี้วัดจะต้องมีการกำหนดเป้าหมาย โดยอาศัยข้อมูลพื้นฐานจากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

  28. 5 กำหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด : คือเป้าหมายหรือตัวเลขที่องค์กรต้องการจะบรรลุของตัวชี้วัดแต่ละเป้าประสงค์ มีหน่วยการวัดดังต่อไปนี้ • ร้อยละ (Percentage) • จำนวน (Number) • อัตราส่วน (Ratio) • ค่าเฉลี่ย (Mean) • สัดส่วน (Proportion) • อัตรา (Rate) • ระดับความสำเร็จ (Milestone)

  29. 5 กำหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน หลักเกณฑ์ในการกำหนดค่าเป้าหมาย • ตั้งเพิ่มขึ้นเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา • ตั้งเปรียบเทียบกับหน่วยงานในลักษณะเดียวกัน (Benchmarking) • ตั้งตามสิ่งที่ลูกค้า หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับองค์กร (Stakeholders) คาดหวัง เช่น ระดับของการบริการที่ลูกค้าคาดหวัง • ตั้งตามผลการดำเนินงานที่เป็นไปได้จากกระบวนการ ความสามารถ และทรัพยากรที่องค์กรมีอยู่ในปัจจุบัน • ตั้งตามสิ่งที่ต้องทำหรือพัฒนา เพื่อให้บรรลุต่อเป้าหมายในระดับที่สูงกว่า

  30. 5 กำหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน ค่าวิกฤติ – ค่ายอมรับ ค่าวิกฤติ – ค่ายอมรับ : การกำหนดค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดที่สมบูรณ์แบบจำเป็นต้องกำหนดค่าวิกฤตและค่ายอมรับควบคู่กับค่าเป้าหมาย • ค่าวิกฤติ : เป็นค่าที่ยอมรับได้ในระดับต่ำสุด หรือ ค่าที่บ่งชี้ต่อความล้มเหลวขององค์กร • ค่ายอมรับ : เป็นค่าที่ยอมรับได้ ส่วนใหญ่นิยมเป็นค่าเดียวกับเป้าหมาย บ่งชี้ความสำเร็จขององค์กร

  31. 6 คัดเลือกวิธีที่ใช้ในการประเมิน สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการประเมิน มีความเป็นไปได้ มีข้อมูลสนับสนุน เน้นการประเมินตามสภาพจริง ควรใช้เครื่องมือมากกว่า 1 ประเภท

  32. 7 ดำเนินการประเมินโดยใช้เทคนิควิธีการที่เหมาะสม วิธีการ • ประเมินจากชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย • สอบถาม จากผู้เกี่ยวข้อง • สัมภาษณ์ ผู้เกี่ยวข้อง เครื่องมือ • แบบบันทึกการปฎิบัติงาน • รายงานผลการปฎิบัติงาน • แบบสอบถาม • แบบสัมภาษณ์

  33. 8 วิเคราะห์ผลการประเมิน ค่าสถิติเพื่อใช้การวิเคราะห์ • ร้อยละ • ค่าเฉลี่ย • จำนวน • ระดับความสำเร็จ • ระดับความสำเร็จร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก

  34. 9 สรุปและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ และให้ข้อมูลย้อนกลับ การรายงาน รายงานคือการเสนอรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการดำเนินงานของบุคคลของหน่วยงานเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญในการบริหารงานทั้งในหน่วยงานราชการและธุรกิจเอกชนเพราะรายงานจะบรรจุข้อมูลพื้นฐานที่ช่วยให้บุคลากรของหน่วยงานทราบนโยบายเป้าหมายผลการปฏิบัติงานปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ในการดำเนินงาน

  35. 9 สรุปและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ และให้ข้อมูลย้อนกลับ การเขียนรายงาน คือการเขียนรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการดำเนินงานของบุคคลในหน่วยงานซึ่งรายงานแต่ละประเภทนั้นก็จะมีวิธีการเขียนที่แตกต่างกันออกไปรายงานจึงเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญในการบริหารงานและการที่จะเสนอการเขียนรายงานนั้นให้ออกมาอย่างมีประสิทธิภาพสามารถผลิตออกมาได้อย่างรวดเร็วนั้นควรที่จะมีการวางแผนกำหนดเวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดของแต่ละรายงานไว้ด้วย

  36. 9 สรุปและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ และให้ข้อมูลย้อนกลับ หลักการเขียนรายงาน • ควรเขียนให้สั้นเอาแต่ข้อความที่จำเป็น • ใจความสำคัญควรครบถ้วนเสมอว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร • ควรเขียนแยกเรื่องราวออกเป็นประเด็น ๆ • เนื้อความที่เขียนต้องลำดับไม่สับสน • ข้อมูลตัวเลขหรือสถิติต่าง ๆ ควรได้มากจากการพบเห็นจริง

  37. 9 สรุปและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ และให้ข้อมูลย้อนกลับ หลักการเขียนรายงาน • ถ้าต้องการจะแสดงความคิดเห็นประกอบ ควรแยกความคิดออกจากตัวข่าว • การเขียนบันทึกรายงานถ้าเป็นของทางราชการควรเป็นรูปแบบที่ใช้แน่นอน • เมื่อบันทึกเสร็จแล้วต้องทบทวนและตั้งคำถามในใจว่า ควรจะเพิ่มเติมหรือตัดทอน • ส่วนใดทิ้งหรือตอนใดเขียนแล้วยังไม่ชัดเจน ก็ควรจะแก้ไขเสียให้เรียบร้อย

  38. 9 สรุปและสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ และให้ข้อมูลย้อนกลับ การเผยแพร่และนำไปใช้ประโยชน์ • นำเสนอรายงานผลการดำเนินงานในเวทีการประชุมสัมมนา เช่น การประชุม สัมมนาองค์คณะบุคคลขององค์กร • เผยแพร่เอกสารรายงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • เผยแพร่ผ่านสื่อเทคโนโลยี ซึ่งเป็นช่องทางการเผยแพร่ที่ทันสมัย สะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย • ส่งเสริมให้มีการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรม

More Related