270 likes | 743 Views
Respiratory diseases in chicken. 1. Newcastle Disease 2. Infectious Bronchitis 3. Infectious Coryza 4. Chronic Respiratory Disease and/ or colibacillosis 5. Infectious Laryngotracheitis . โรคหลอดลมอักเสบติดต่อ (Infectious bronchitis/IB). เป็นโรคในไก่ที่ทำความเสียหายได้มาก
E N D
Respiratory diseases in chicken • 1. Newcastle Disease • 2. Infectious Bronchitis • 3. Infectious Coryza • 4. Chronic Respiratory Disease and/ or colibacillosis • 5. Infectious Laryngotracheitis
โรคหลอดลมอักเสบติดต่อ(Infectious bronchitis/IB) • เป็นโรคในไก่ที่ทำความเสียหายได้มาก • เป็นได้กับไก่ทุกอายุ ตั้งแต่ 1 wk จนกระทั่งปลด • ความสูญเสียเกิดจาก • ไก่อายุน้อยมีอัตราการตายสูง • ไข่ลดอย่างรุนแรง • อัตราการเจริญเติบโตชะงัก • *** ทำวัคซีนแล้วไม่ค่อยได้ผล IB
การติดต่อ: • Contact และ air-borne • โดยมีระยะฟักตัว 18-48 ชม. หลังติดเชื้อ อาการ • 1. ในไก่อายุน้อย • 1.1 แบบที่ก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ • หายใจลำบาก ไอ จาม มีน้ำมูกน้ำตาไหล อัตราป่วย 60-100% อัตราตาย 1-40% IB
1.2 แบบที่ก่อให้เกิดโรคที่ไต1.2 แบบที่ก่อให้เกิดโรคที่ไต • เริ่มแรกอาจจะมีอาการทางระบบหายใจ ต่อมาท้องเสีย อุจจาระมียูเรตขาว ขนลุก อัตราการเป็นโรคแบบนี้สูง 80-100% และอัตราการตายสูงกว่าแบบแรก • ระยะเวลาการเป็นโรค7-21 วัน IB
2. ไก่ไข่หรือไก่พ่อแม่พันธุ์ • หงอย ซึม หายใจลำบาก ท้องเสียบ้าง • หลังแสดงอาการ 5-7 วัน ไข่จะลดแบบทันทีทันใด นอกจากนี้คุณภาพไข่จะเปลี่ยนด้วย (ไข่ 25-40%) และอาการไข่ลดเป็นเวลา 2-4 wk. ต่อมาจะเพิ่มขึ้น แต่ก็ไม่เท่าปกติ IB
โรคหวัดหน้าบวม : IC(Infectious coryza) • เป็นโรคจำเพาะที่เกิดขึ้นกับไก่อายุมาก (> 5 wk.) อัตราการป่วยสูง อัตราการตายต่ำ • ไก่ที่หายจากโรค จะยังคงสภาพเป็นตัวนำโรค เป็นระยะเวลามากกว่า 4 เดือน แต่บางฝูง ~ 2 ปี ทำให้มีการแพร่เชื้อ ซึ่งอาจจะมีโรคแทรกด้วย อัตราการตายสูงขึ้น • ชาวบ้านบางแห่งเรียก โรคตาบวม พบการระบาดตลอดปี โดยเฉพาะช่วงต้นฤดูฝน สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Haemophilus paragallinarum Infectious coryza
การติดต่อ • มีการสัมผัสกับเชื้อ • มีไก่อมโรค ซึ่งรอดตายจากการระบาดในฟาร์ม อาการ • พบในไก่อายุมาก esp. ไก่ไข่และไก่พ่อแม่พันธุ์ ช่วงอายุเริ่มตั้งแต่ 8 wk. • ไก่พื้นเมืองในไทย จะไวต่อโรคมากกว่าไก่พันธุ์ • การเริ่มต้นระบาดเกิดเมื่อไก่กำลังให้ peak ไข่ (34-38 wk) Infectious coryza
แบบเฉียบพลัน : ไก่เบื่ออาหารและน้ำ ไอหรือจาม มีน้ำมูก เยื่อบุนัยน์ตาอักเสบ มีน้ำตา หลังจากมีอาการระยะหนึ่ง น้ำตาจะหยุดไหล น้ำมูกข้น เหนียว • ไก่ที่เป็นโรคจะมีน้ำมูกเหนียวจับบริเวณคอและปีก เนื่องจากไก่จะเอียงหน้าเช็ด, มีการบวมน้ำที่ใบหน้า การบวมจะพบข้างใดข้างหนึ่งของใบหน้า/ทั้งสองข้าง น้ำมูก Infectious coryza
แบบเรื้อรัง : น้ำมูกเป็นก้อนเหนียวอุดบริเวณโพรงจมูก ไก่อ้าปากหายใจ และรุนแรงหนองที่โพรงจมูก & ไซนัส ตาปิด • ไก่บวมน้ำที่เหนียง ต่อมาเชื้อลามสู่ระบบหายใจ หายใจมีเสียงดัง • ไข่ลด (10-40 %) • recover 6-8 wk. • อัตราการป่วย 30-70%, อัตราการตาย 2-6% Infectious coryza
วิการ • แบบรุนแรงและเรื้อรัง: • น้ำมูกข้นเหนียวอุดโพรงจมูก • บวมน้ำที่บริเวณใบหน้า • เยื่อบุนัยน์ตาอักเสบ ตาบวมปิด • ก้อนหนองสีขาวเหลือง เหนียว ~ เนยแข็งอุดไซนัส กลิ่นเหม็นหืน การรักษา • ให้ยาปฏิชีวนะผสมอาหาร Infectious coryza
การป้องกันโรค • วัคซีนเชื้อตาย 2 ครั้ง • 1.เมื่ออายุ 6-8 wk. • 2. เมื่ออายุ 12-14 wk. และมักจะให้ต่ออีก 1 ครั้ง • 3. เมื่ออายุ 40-42 wk. Infectious coryza
โรคไมโคพลาสโมซีส(Mycoplasmosis)โรคไมโคพลาสโมซีส(Mycoplasmosis) • เกิดจากเชื้อ Mycoplasma spp. ซึ่งเป็นเชื้อที่มีลักษณะกึ่งแบคทีเรียและไวรัส • เชื้อ Mycoplasma spp. ในไก่ที่สำคัญมี 2 ชนิด คือ • 1. Mycoplasma gallisepticum โรค CRD • 2. Mycoplasma synoviae โรคข้ออักเสบ Mycoplasmosis
โรคระบบหายใจเรื้อรัง (Chronic Respiratory Disease : C.R.D.) • เป็นปัญหาร้ายแรงทั้งในไก่กระทงและไก่ไข่ ซึ่งจะมีความรุนแรงมากขึ้นเมื่อสัตว์เกิดความเครียด หรือเกิดร่วมกับการติดเชื้อชนิดอื่น เช่น E. coli, ND, IB เป็นต้น ทำให้เรียกว่า complicated CRD Mycoplasmosis
การติดต่อ • ไก่และไก่งวง จะติดโรคนี้ได้ง่าย เชื่อว่า เชื้อ Mycoplasma spp. มีอยู่ทั่วไปในทุกหนทุกแห่ง (อยู่ในสิ่งแวดล้อม) การแพร่ระบาดเกิดจาก • 1. ทางอากาศ/ในแนวราบ • 2. การสัมผัส • 3. เชื้อผ่านไข่/ในแนวดิ่ง (3-12%) Mycoplasmosis
อาการ • ภูมิคุ้มกันโรคจากแม่สามารถอยู่ในลูกไก่ได้นาน 14-21 วัน • ไก่จะติดเชื้อเมื่ออายุประมาณ 3 อาทิตย์ และแสดงอาการตั้งแต่อายุ 5-7 อาทิตย์ ระยะเวลาที่ป่วยเป็นเวลา 3 wk – 2 m • อาการที่สำคัญ คือ หวัด น้ำมูกใสเป็นฟอง เยื่อตาอักเสบเล็กน้อย มีน้ำตา และมักเป็นหวัดแบบเรื้อรัง • อัตราการป่วย 30-60% อัตราการตายขึ้นกับโรคแทรกซ้อน Mycoplasmosis
วิการ • มีน้ำมูกในรูจมูก หลอดลม และปอด และการบวมน้ำที่ถุงลม ซึ่งต่อมาจะเป็นก้อนหนอง • ในไก่ 4-10 wk. มักมีเชื้ออื่น เช่น E.coli ด้วย จะพบเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ และเยื่อหุ้มตับอักเสบร่วมด้วย Mycoplasmosis
การรักษา • สามารถรักษาอาการป่วยได้ แต่ไม่สามารถขจัดการติดเชื้อและการแพร่เชื้อผ่านทางไข่ • ตัวอย่าง ยาปฏิชีวนะที่ใช้ เช่น ไทโลซิน, สไปรามัยซิน, ไทอะมุลิน, etc. • ส่วนโรคเยื่อบุข้ออักเสบติดต่อ ซึ่งเกิดจากเชื้อ M. synoviaeก็มีลักษณะการติดโรคและเกิดโรคใกล้เคียงกัน แต่จะต่างกันที่อาการป่วยเท่านั้น Mycoplasmosis
การป้องกัน • การจัดการควบคุมอุณหภูมิและการระบายอากาศ • ไม่มีวัคซีนป้องกันโรค Mycoplasmosis
โรคโคไลแบซิลโลซิส (Colibacillosis) สาเหตุ • เชื้อแบคทีเรียชนิด Escherichiacoli ในลำไส้ โดยมีสาเหตุโน้มนำคือ • 1.ความเครียด • 2.จากการเร่งการเจริญเติบโต (ช่วงอายุ 25-35 วัน) • 3.เกิดโรคทางระบบทางเดินหายใจ เช่น ND, IB • 4.การกดภูมิคุ้ม เช่น ได้รับสารพิษ Aflatoxin ติดโรค IBD หรือ Marek’s เป็นต้น โรคโคไลแบซิลโลซีส
การติดต่อ • 1. ไก่อ่อนแอ เป็นโรค ถ่ายเชื้อปะปนในน้ำและอาหาร • 2. ทางการหายใจ • 3. พาหะนำโรค อาการ • เกิดในไก่ช่วงอายุกำลังเจริญเติบโต อายุ 25-35 วัน • ไก่ที่เป็นโรคจะยืนซึม เคลื่อนไหวลำบาก บางตัวท้องเสีย โรคโคไลแบซิลโลซีส
อาการ (ต่อ) • อาการสำคัญ คือ หายใจลำบาก (ใช้กล้ามเนื้อท้อง) และเกือบทุกตัวจะเป็นไก่ที่อ้วนสมบูรณ์ • อาการร่วมอื่นๆ คือ โลหิตเป็นพิษ ถุงลมอักเสบ นัยน์ตาอักเสบหรือบอด ท่อนำไข่อักเสบ เยื่อบุข้ออักเสบ เนื้องอกที่ไส้ตัน ตับ ผนังลำไส้เล็ก ม้าม สะดืออักเสบ โรคโคไลแบซิลโลซีส