1 / 91

การจัดทำข้อมูลการเกษตร ให้เป็นเอกภาพ

การจัดทำข้อมูลการเกษตร ให้เป็นเอกภาพ. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 14 มีนาคม 2552. เอกภาพ. ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้องกลมกลืนกัน การประสานกัน. การจัดระเบียบของส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างผลรวมอันเป็นอันหนึ่งอันเดียวที่ไม่อาจแยกออกจากกันได้.

aoife
Download Presentation

การจัดทำข้อมูลการเกษตร ให้เป็นเอกภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำข้อมูลการเกษตรให้เป็นเอกภาพการจัดทำข้อมูลการเกษตรให้เป็นเอกภาพ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 14 มีนาคม 2552

  2. เอกภาพ • ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้องกลมกลืนกัน การประสานกัน • การจัดระเบียบของส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างผลรวมอันเป็นอันหนึ่งอันเดียวที่ไม่อาจแยกออกจากกันได้ • เป็นหนึ่งในขบวนการจัดทำข้อมูล

  3. ปัญหาของข้อมูล 1) ซ้ำซ้อน 2) ไม่ถูกต้อง 3) สร้างความสับสน 4) เพิ่มภาระ

  4. ผู้เกี่ยวข้อง 1. ผู้บริหารระดับสูง รัฐมนตรี อธิบดี 2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สศช. กรมการค้าภายใน

  5. Agricultural Information System DOC MOC PMOC Warning system Uniqueness Timeliness Dissemination Sufficient Technology ( IT ) Agricultural Information System Reliability Database Lag 1 Year Web Network Late Forecast Commodities Time Series Publication Data Item Call Center Data Level Data Processing GI เกษตรกร Survey พด. Crop cutting เอกชน Forecasting Report กสก. สศก.

  6. ระบบการจัดการข้อมูล 1 ความน่าเชื่อถือ (Reliability) 2 เป็นเอกภาพ(Uniqueness) 3 รายละเอียดเพียงพอ (Sufficiency) 4 ทันต่อความต้องการใช้(Timeliness) 5 การจัดเก็บ(Information Technology) 6 การเผยแพร่(Dissemination)

  7. ความสัมพันธ์และความสำคัญความสัมพันธ์และความสำคัญ • Reliability & Uniqueness • Uniqueness & Reliability

  8. 1 ความน่าเชื่อถือ (Reliability) การจัดทำข้อมูลสถิติ 1) Report 3) Census 2) Farm registration 4) RRA 5) Remote sensing 6) การพยากรณ์ 7) Farmbook keeping 8) Sampling Survey

  9. การจัดทำข้อมูลสถิติ 1. การรายงาน - ข้อดี ครบถ้วน มีรายละเอียด - จุดอ่อน ไม่ตรงเวลา ไม่พร้อมกัน ล่าช้า ไม่ได้วิเคราะห์ทางสถิติ 2. การขึ้นทะเบียน - ข้อดี ครบถ้วน มีรายละเอียด - จุดอ่อน มักทำในช่วงมีนโยบาย มีมาตรการ ช่วยเหลือ ข้อมูลมักจะสูงกว่าปกติ ซ้ำซ้อน ไม่ได้วิเคราะห์ทางสถิติ

  10. การจัดทำข้อมูลสถิติ 3. การทำสำมะโน - ข้อดี ครบถ้วน มีรายละเอียด - จุดอ่อน ข้อมูลปริมาณมาก ล่าช้ามาก 10ปีครั้ง 4. การสำรวจด้วยตัวอย่าง - ข้อดี รวดเร็ว มีการวิเคราะห์ทางสถิติ - จุดอ่อน มีรายละเอียดไม่มาก

  11. 1. ความน่าเชื่อถือ (ต่อ) ทฤษฎี/วิธีการ(Theory) ถูกต้อง(Accuracy) แม่นยำ(Precision) แนบนัย(Consistency)

  12. วิธีการจัดทำข้อมูล ของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1. การสำรวจ(Survey) 2. การจดทะเบียน (Registration) 3. การวางบัญชีฟาร์ม (Farm Book Keeping) 4. การรายงาน(Report System) 5. ภูมิสารสนเทศ (Geo-Informatics) 6. แบบจำลอง (Model)

  13. วิธีการจัดทำข้อมูล 1. การสำรวจ เป็นการสำรวจด้วยตัวอย่าง 1. List Frame Survey 2. Area Frame Survey 3. การตั้งแปลงทดสอบผลผลิตต่อไร่ (Crop cutting) 4. การสำรวจภาวะการผลิต (Rural Rapid Appraisal: RRA)

  14. วิธีการจัดทำข้อมูล 1. การสำรวจด้วยตัวอย่าง ข้อดี :แม่นยำ น่าเชื่อถือ รวดเร็ว ประหยัดงบประมาณ มีรายละเอียด จุดอ่อน : Sampling Error และ Non Sampling Error

  15. ขั้นตอนการสำรวจด้วยตัวอย่างขั้นตอนการสำรวจด้วยตัวอย่าง Design Office Editing Questionnaire Data Entry Field Survey Field Editing Pretest Training

  16. ขั้นตอนการสำรวจด้วยตัวอย่าง (ต่อ) Verify Database Estimating Computer Print Out Analysis Database Scrutinize Release

  17. การประมวลผลข้อมูล การประมาณค่ายอดรวมของประชากร ^ การประมาณค่าความแปรปรวน ^ ^ การประมาณค่าเฉลี่ย ให้ yhij เป็นข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ เกษตรกร คนที่ j ในพื้นที่ที่ i ในPolygonที่ h

  18. Rapid Rural Appraisal เป็นการสำรวจข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลในแต่ละช่วงที่ผ่านมา การคำนวณผลจะใช้ปีเก่าเป็นฐาน

  19. การสำรวจโดยวิธี ตั้งแปลงทดสอบผลผลิตต่อไร่ เป็นการคำนวณผลผลิตต่อไร่ โดยใช้วิธีการเก็บผลผลิตจริงจากแปลงตัวอย่างและทำการนับ วัด ชั่ง

  20. วิธีการจัดทำข้อมูล 2. การจดทะเบียน วางบัญชีฟาร์ม เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการบันทึกรายการหรือลงทะเบียน เหตุการณ์ เมื่อเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น ข้อดี ครบถ้วน มีรายละเอียด จุดอ่อน ข้อมูลมักจะสูงกว่าปกติ ซ้ำซ้อน ไม่ได้วิเคราะห์ทางสถิติ

  21. วิธีการจัดทำข้อมูล 3. การรายงาน เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งจากการกำหนด มอบหมาย ข้อถาม ระยะเวลา วิธีการ ข้อดี ครบถ้วน มีรายละเอียด จุดอ่อน ไม่ตรงเวลา ไม่พร้อมกัน ล่าช้า ไม่ได้วิเคราะห์ทางสถิติ

  22. วิธีการจัดทำข้อมูล 4. ภูมิสารสนเทศด้านการเกษตร Mapping Remote Sensing ข้อดี : ได้ข้อมูลเชิงพื้นที่ที่เป็นปัจจุบัน ถูกต้อง ณ ระดับ 70-80% สามารถอ้างอิงตำแหน่งได้ชัดเจน ข้อเสีย : ไม่มีการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ความคลาดเคลื่อนมากกว่าวิธีการสำรวจ

  23. แผนที่ความเหมาะสม สำหรับสินค้าแต่ละชนิด (Commodities approach) เขตการปกครอง เขตชลประทาน จำนวนวันฝนตก ปริมาณน้ำฝน การใช้ที่ดินเป็นปัจจุบัน กลุ่มดิน นำไปใช้ในการกำหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจแต่ละสินค้า วิธีการจัดทำข้อมูล การใช้ภูมิสารสนเทศด้านการเกษตร

  24. การวางแผนการผลิตจากเขตเกษตรเศรษฐกิจ การวางแผนการผลิตจากเขตเกษตรเศรษฐกิจ ความเหมาะสมเลี้ยงสัตว์ แผนที่ความเหมาะสมทางกายภาพของพื้นที่ (Area approach) ความเหมาะสมปาล์มน้ำมัน ความเหมาะสมยางพารา ความเหมาะสมสับปะรด ความเหมาะสมอ้อยโรงงาน ความเหมาะสมมันสำปะหลัง ความเหมาะสมข้าวโพด นำไปใช้ในการกำหนดแผนการผลิต ความเหมาะสมข้าว

  25. 5. แบบจำลอง วิธีการจัดทำข้อมูล - Forecasting Model - Commodities Model - Macro Model - Input – Output Table ข้อดี ได้ข้อมูลล่วงหน้า รวดเร็ว ทันเวลา สนองนโยบาย

  26. การพยากรณ์ข้อมูล โดยสร้างแบบจำลองทางเศรษฐมิติ(Econometric Model) การพยากรณ์ผลผลิตต่อไร่ Yt = f(Pt-1,Rt, Rt2, RDt,RDt2,T)

  27. การวิเคราะห์ข้อมูล • Balance Sheet 2. ข้อมูลขึ้นทะเบียน 3. สถานการณ์การผลิต4. การใช้ที่ดิน 5. สำมะโนเกษตร 6. ปริมาณน้ำฝน 7. อุณหภูมิ8. ภัยธรรมชาติ 9. ข้อมูลแนวโน้มจากอดีต 10. ราคาปีที่ผ่านมา 11. ราคาพืชแข่งขัน12. ราคาในตลาดโลก

  28. ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนของข้อมูลความผิดพลาดคลาดเคลื่อนของข้อมูล ระยะเวลา การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ความแนบนัย/ ผิดปกติของข้อมูล การให้ความช่วยเหลือของภาครัฐ ผลผลิตจากประเทศเพื่อนบ้าน

  29. ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนจากการประสานงานความผิดพลาดคลาดเคลื่อนจากการประสานงาน ทฤษฎี/วิธีการ(Theory) แตกต่างกัน ไม่ได้จัดส่งข้อมูลให้เกษตรจังหวัด ไม่มีการประชุมเรื่องข้อมูลร่วมกัน

  30. 2 เป็นเอกภาพ(Uniqueness) สถิติประเทศไทย CentralizeโดยNSO ตาม พรบ.สถิติ 2508(รวมทั้งข้อมูลสถิติการเกษตร) 2510NSO มอบหมาย กษ. จัดทำข้อมูล 3 ชนิดสินค้า(ปอ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวฟ่าง)

  31. 2 เป็นเอกภาพ(ต่อ) พรบ.เศรษฐกิจการเกษตรพ.ศ. 2522ให้ กษ.จัดทำข้อมูลการเกษตรทุกชนิด พรบ. สถิติ 2550 หน่วยงานใดจะดำเนินการจัดเก็บ รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำสถิติในเรื่องใด ให้แจ้ง NSO ทราบพร้อมแผนงานและระเบียบวิธี ล่วงหน้าไม่น้อย 5 วันก่อนดำเนินการ

  32. 2 เป็นเอกภาพ(ต่อ) การจัดทำข้อมูลการเกษตรในปัจจุบัน Centralize system by Law Decentralize system ในทางปฏิบัติ หน่วยงานที่จัดทำข้อมูลการเกษตรในปัจจุบัน 1) กรมส่งเสริมการเกษตร 2) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 3) กรมพัฒนาที่ดิน 4) กรมประมง 5) กรมปศุสัตว์ 6) กรมการข้าว

  33. 2 เป็นเอกภาพ(ต่อ) การจัดทำข้อมูลการเกษตรของต่างประเทศ ญี่ปุ่น - รวมศูนย์ เก็บข้อมูลโดยสาขา เกาหลี - รวมศูนย์ NAQS&KNSO USDA - รวมศูนย์

  34. 2 เป็นเอกภาพ(ต่อ) ระบบรวมงานสถิติ ข้อดี - เอกภาพ - เป็นมาตรฐาน มีระบบ ชัดเจน น่าเชื่อถือ - ลดความซ้ำซ้อน - ประหยัดทรัพยากร

  35. 2 เป็นเอกภาพ(ต่อ) ระบบรวมงานสถิติ ข้อเสีย - การบริหารจัดการซับซ้อน ยุ่งยาก - การควบคุมคุณภาพทำได้ยาก - การทำงานล่าช้า - งบประมาณมาก

  36. 2 เป็นเอกภาพ(ต่อ) ปัญหาของข้อมูลการเกษตร 1) สถิติซ้ำซ้อน 2) ยุ่งยากในการควบคุมมาตรฐานสถิติ 3) ข้อมูลขัดแย้งกัน ผู้ใช้สับสน 4) เพิ่มภาระประชาชนที่ต้องให้ข้อมูลหลายครั้ง

  37. Agricultural Information System DOC MOC PMOC Warning system Uniqueness Timeliness Dissemination Sufficient Technology ( IT ) Agricultural Information System Reliability Database Lag 1 Year Web Network Late Forecast Commodities Time Series Publication Data Item Call Center Data Level Data Processing GI เกษตรกร Survey พด. Crop cutting เอกชน Forecasting Report กสก. สศก.

  38. 3 รายละเอียดเพียงพอ (Sufficiency) 1) ระดับของข้อมูล - ประเทศ- ภาค - จังหวัด- ตำบล - อำเภอ- หมู่บ้าน 2) ความหลากหลายของข้อมูล -ITEMS ( เนื้อที่ ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ราคา ต้นทุน นำเข้า ส่งออก GDP แรงงาน รายได้ รายจ่าย การใช้ที่ดิน Zoning ฯลฯ)

  39. 3 รายละเอียดเพียงพอ (ต่อ) 3) ชนิดสินค้า พืชไร่ (ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง ฯลฯ) พืชสวน(ลำไย ลองกอง ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ฯลฯ) พืชผัก (กระเทียม กวางตุ้ง คะน้า มะนาว ฯลฯ) ปศุสัตว์(สุกร ไก่เนื้อ โคเนื้อ โคนม กุ้ง ฯลฯ) 4) Time series ข้อมูล 50 ปี

  40. 4 ทันต่อความต้องการใช้(Timeliness) 1) ข้อมูลรายปี 2) ข้อมูลตามความต้องการของผู้บริหาร 3) ข้อมูลพยากรณ์ 4) Early Warning Information

  41. 5 เทคโนโลยี (Information Technology) 1) Hardware 6) Voice Over IP 2) Database 7) Web Conference 3) Network, Website 8) WIFI 4) Programming 9) Firewall 5) Peopleware 10) Web Application

  42. 6 การเผยแพร่(Dissemination) 1) Website, CD 2) เอกสาร,วารสาร,แผ่นพับ 3) ข่าว 6) VDO Clip 4) EOC, AOC 7) e-mail 5) Webboard

  43. การจัดทำข้อมูลการเกษตรของ สศก. 1. ข้อมูลการผลิต 2. การพยากรณ์ผลผลิตการเกษตร 3. ภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตร เช่น รายได้ รายจ่ายครัวเรือน 4. ต้นทุนการผลิตและราคา

  44. การจัดทำข้อมูลการเกษตรของ สศก. 5. Production Index และ Price Index 6. การบริโภคอาหารของครัวเรือน 7. การค้ากับต่างประเทศ 8. ภูมิสารสนเทศด้านการเกษตร 9. ข้อมูลการถือครองและการใช้ที่ดิน

  45. 1. ข้อมูลการผลิต 1.1 พืชไร่ Items : เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว ร้อยละผลผลิตรายเดือน ผลผลิตต่อไร่ ปริมาณการใช้ปุ๋ย การใช้พันธุ์

  46. ข้อมูลการผลิต ชนิด : ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง อ้อย ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ปอ ฝ้าย ข้าวฟ่าง หอมแดง หอมใหญ่ กระเทียม มันฝรั่ง สับปะรด

  47. ข้อมูลการผลิต 1.2 พืชสวน Items : เนื้อที่ยืนต้น เนื้อที่ให้ผล ร้อยละผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ปริมาณการใช้ปุ๋ย การใช้พันธุ์ ช่วงอายุ

  48. ข้อมูลการผลิต ชนิด : ยางพารา ปาล์มน้ำมัน กาแฟ ลำไย ทุเรียน มังคุด เงาะ ลิ้นจี่ ลองกอง มะม่วง มะพร้าว ส้มเขียวหวาน ฝรั่ง

  49. ข้อมูลการผลิต 1.3 ปศุสัตว์ Items : จำนวนตัว ณ วันที่ 1 ม.ค. ปริมาณการผลิต ร้อยละผลผลิตรายเดือน จำนวนครัวเรือน

  50. ข้อมูลการผลิต ชนิด : สุกร ไก่เนื้อ ไก่ไข่ ไก่พื้นเมือง โคเนื้อ โคนม น้ำนมดิบ กระบือ

More Related