1 / 60

คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน

File : SC124_welcome_11swf. หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน. หมายเหตุ : ภาพที่ใช้เป็นภาพเพื่อแสดงตัวอย่าง แต่เมื่อนำไปผลิตจะมีการวาดขึ้นมาใหม่. คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน. Enter Course. Music Bg. คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ xxx_xxxx_xxx.swf. ยินดีต้อนรับเข้าสู่.

Download Presentation

คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. File :SC124_welcome_11swf หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน หมายเหตุ : ภาพที่ใช้เป็นภาพเพื่อแสดงตัวอย่าง แต่เมื่อนำไปผลิตจะมีการวาดขึ้นมาใหม่ คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน Enter Course Music Bg • คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ xxx_xxxx_xxx.swf ยินดีต้อนรับเข้าสู่ รหัสวิชา SC124 (Chemistry For Engineers) สมดุลไอออน (Equilibrium Ion)

  2. File :SC124_Objective_11,swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์รายวิชา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสมดุลกรด-เบส • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสมดุลการละลาย • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสมดุลการเกิดสารประกอบเชิงซ้อน Enter Course Music Bg • เมื่อคลิกปุ่ม Enter Course เข้าสู่ไฟล์ : tu110 home_10.swf

  3. File : SC124_home_11.swf หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทเรียน สารบัญบท • สมดุลกรด-เบส • นิยามกรด เบส • การแตกตัวของน้ำ • ความแรงของกรด เบส • กรดอ่อน เบสอ่อน และค่าคงที่การแตกตัว • ไฮโดรไลซีสของเกลือ และค่าคงที่การแตกตัว • สารละลายบัฟเฟอร์ • กรดไดโปรติก และกรดโพลีโปรติก สมดุลการละลาย สมดุลการเกิดสารประกอบเชิงซ้อน แบบฝึกหัดเสริมความเข้าใจ • เมื่อคลิกปุ่ม ลิงค์ไปยังไฟล์

  4. File :SC124_11_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา นิยามกรด-เบส โรเบิร์ต บอยล์ สวันเต เอากุสต์ อาร์เรเนียส (ค.ศ. 1859-1927) โยฮันเนส นิโคเลาส์ เบรินสเตด (ค.ศ. 1879-1947) ทอมัส มาร์ติน ลาวรี (ค.ศ. 1874-1936) ย้อนไปในปี ค.ศ.1661 โรเบิร์ต บอยล์ ชาวอังกฤษ ได้สรุปสมบัติของกรดและด่าง ไว้ว่า กรดมีรสเปรี้ยว มีสมบัติกัดกร่อน เปลี่ยนสีลิตมัส เป็นสีย้อมจากพืช จากสีน้ำเงินเป็นแดง และความเป็นกรดจะน้อยลงเมื่อผสมกับเบส คำว่า กรด ภาษาอังกฤษคือคำว่า acid เป็นคำมาจากคำภาษาละตินว่า “acere” แปลว่า เปรี้ยวอาหารจำนวนมากมีรสเปรี้ยวและมีกลิ่นแรง เนื่องจากมีกรดเป็นองค์ประกอบ เช่น น้ำส้มสายชูมีรสเปรี้ยวเนื่องจากเป็นสารละลายของกรดแอซีติกในน้ำ น้ำมะนาวมีรสเปรี้ยวเนื่องจากมีกรดซิทริก นมที่เสียมีรสเปรี้ยวเนื่องจากมีกรดแลกติกเกิดขึ้น เนยเสียจะมีกลิ่นเปรี้ยวเนื่องจากกรดบิวทีริก ส่วนด่างมีรสขม ทำให้รู้สึกลื่น เปลี่ยนสีลิตมัสจากสีแดงเป็นน้ำเงิน และความเป็นด่างจะน้อยลงเมื่อผสมกับกรดต่อมาเรียกด่างว่า “เบส” ตัวอย่างของเบสได้แก่ สารซักฟอก สบู่ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ แอมโมเนีย แม้ว่าบอยล์และนักวิทยาศาสตร์ท่านอื่นๆ จะพยายามอธิบายว่าเหตุใดกรดและเบส จึงมีสมบัติดังกล่าว แต่ยังไม่มีผู้ใดเสนอนิยามกรด - เบสที่เหมาะสม จนกระทั่งอีกกว่า 200 ปีต่อมา อาร์เรเนียส ได้ให้นิยามของกรดเบส นิยามนี้อธิบายสมบัติของกรดและเบสค่อนข้างจำกัด ต่อมา จึงมีผู้ให้นิยามขึ้นมาใหม่ เพื่อที่จะนำไปอธิบายถึงสภาวะของสารที่เป็นกรดและเบสให้เหมาะสมขึ้น คือ นิยามของ เบรินสเตต – เลารี และนิยามของลิวอิส • เริ่มต้นพูด ปรากฏภาพคน และ mascot ขึ้นมา • เมื่อพูด “เนื่องจากมีกรดเป็น” แสดงภาพน้ำส้มสายชู, น้ำมะนาว, เนยบูดขึ้นมาตรงกับเสียงพูด ให้แต่ละภาพเฟดขึ้นมาแล้ว เฟดหายไปในภาพคนเมื่อมีภาพใหม่มาแทนที่ • เมื่อพูด “ตัวอย่างของเบสได้แก่” ปรากฏภาพผงซักฟอก, สบู่ • เมื่อพูด “200 ปีต่อมา อาร์เรเนียส” ปรากฏภาพคนไล่ตรงกับเสียงพูด

  5. H2O File :slide2 หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา นิยามกรด-เบส • นิยามกรด - เบสของอาร์เรเนียส (Arrhenius definitions of acids and bases) สวันเต เอากุสต์ อาร์เรเนียส (Svante August Arrhenius) นักเคมีชาวสวีเดนได้เสนอนิยามของกรด – เบส ดังนี้ กรด คือ สารที่เมื่อละลายในน้ำจะแตกตัวให้ไฮโดรเจนไออน (H+) และไอออนลบ เบส คือ สารที่เมื่อละลายในน้ำจะแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) และไอออนบวก HCI(g) H+(aq) + CI-(aq) สวันเต เอากุสต์ อาร์เรเนียส (ค.ศ. 1859-1927) ตัวอย่างของกรดอาร์เรเนียสอื่นๆ เช่น HCI, HCIO4, H2SO4, HCN เป็นต้น ซึ่งจะแตกตัวในน้ำให้ H+ คลิกดูการแบ่งประเภทกรดและเบสของอาร์เรเนียส คลิกดูข้อจำกัดของอาร์เรเนียส • ใน ค.ศ. 1887 สวันเต เอากุสต์ อาร์เรเนียส นักเคมีชาวสวีเดน ได้เสนอนิยามของ • กรด – เบส ไว้ว่า กรด คือ สารที่เมื่อละลายในน้ำจะแตกตัวให้ไฮโดรเจนไออน และไอออนลบ ส่วนเบส คือ สารที่เมื่อละลายในน้ำจะแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน และไอออนบวก ตามนิยามนี้ แก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ เป็นตัวอย่างของกรดอาร์เรเนียส เพราะเมื่อละลายในน้ำจะแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน และคลอไรด์ไอออน สารละลายของไฮโดรเจนคลอไรด์ในน้ำเรียกกว่า กรดไฮโดรคลอริก ซึ่งเขียนแทนด้วย HCI(aq) โดยการแตกตัวของแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์ในน้ำนี้ เขียนแทนได้ด้วยสมการต่อไปนี้ • เริ่มต้นพูด ปรากฏย่อหน้าแรกกับ mascot ขึ้นมา • เมื่อพูด “ตามนิยามนี้” แสดงสมการ • พูดจบ ปรากฏปุ่ม • เมื่อคลิกปุ่มยาว แสดง PDF (หน้า 2-3) • เมื่อคลิกปุ่มสั้น แสดง pop up text +เสียงด้านล่าง ข้อจำกัดของนิยามของอาร์เรเนียส • H+และ OH-เป็นตัวสำคัญที่บ่งถึงความเป็นกรดหรือเบส สารที่ไม่สามารถแตกตัวให้ H+และ OH- ได้ จะจัดเป็นกรดหรือเบสตามนินามอาร์เรเนียสไม่ได้ • สารที่เป็นกรดหรือเบสต้องเป็นสารละลายน้ำ เสียงในปุ่ม.....ตามนิยามของอาร์เรเนียส ไฮโดรเจนไอออนและไฮดรอกไซด์ไอออน เป็นตัวสำคัญที่บ่งถึงความเป็นกรดหรือเบส สารที่ไม่สามารถแตกตัวให้ ไฮโดรเจนไอออนและไฮดรอกไซด์ไอออน ได้ จะจัดเป็นกรดหรือเบสตามนินามอาร์เรเนียสไม่ได้ และสารที่เป็นกรดหรือเบสต้องเป็นสารละลายน้ำ ดังนั้น ปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบสตามนิยามนี้จึงต้องเกิดขึ้นในสารละลายน้ำเท่านั้น แต่ในปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ไม่จำเป็นต้องเกิดในสารละลายน้ำเพียงอย่างเดียว อาจเกิดในสารละลายชนิดอื่นก็ได้ หรืออาจเกิดปฏิกิริยาโดยไม่ต้องมีตัวทำละลายเลยก็ได้ ดังนั้น นิยามของอาร์เรเนียส จึงค่อนข้างแคบ เพราะว่าใช้ได้กับปฏิกิริยาที่อยู่ในสารละลายน้ำเพียงอย่างเดียว

  6. File :slide4 หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา นิยามกรด-เบส • นิยามกรด – เบสของเบรินสเตด – ลาวรี (Brnsted – Lowry definitions of acids and bases) ทั้งคู่ได้เสนอนิยามของกรดและเบสขึ้นใหม่ ดังนี้ กรด คือ สารที่สามารถให้โปรตอน (H+) แก่สารอื่น เบส คือ สารที่สามารถรับโปรตอน โยฮันเนส นิโคเลาส์ เบรินสเตด (ค.ศ. 1879-1947) ทอมัส มาร์ติน ลาวรี (ค.ศ. 1874-1936) มีเนื้อหาต่อในสไลด์ต่อไป ใน ค.ศ.1923 โยฮันเนส นิโคเลาส์ เบรินสเตด นักเคมีชาวเดนมาร์ก และทอมัส มาร์ติน ลาวรี นักเคมีชาวอังกฤษ ต่างเสนอนิยามของกรดและเบสขึ้นใหม่ว่า กรด คือ สารที่สามารถให้โปรตอนแก่สารอื่น ส่วนเบส คือ สารที่สามารถรับโปรตอน ตามทฤษฎีนี้ ไฮโดรเจนไอออนไม่ได้แตกตัวในน้ำเกิดเป็น H+และ CI-แต่มีการถ่ายโอนโปรตอนจาก HCI ไปสู่โมเลกุลของน้ำ เนื่องจากโปรตอนมีขนาดเล็กมาก เมื่ออยู่ในสารละลายในน้ำจึงเกิดพันธะกับออกซิเจนอะตอม ซึ่งเป็นอะตอมที่มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง ในโมเลกุลของน้ำ เกิดเป็น ไฮโดรเนียนไอออนและ CI-ดังสมการ จากการทดลองพบว่า แต่ละ H+ที่กรดให้แก่น้ำจะรวมกับโมเลกุลของน้ำที่อยู่ล้อมรอบจำนวน 4 โมเลกุล เกิดเป็นสารเชิงซ้อน H(H2O)4+หรือ H9O4+ซึ่งมีสูตรโครงสร้างดังนี้ครับ อย่างไรก็ตามครับ เรามักแทนสารเชิงซ้อนนี้ด้วย H3O+หรือ H+(aq)นอกจากนี้ไอออนที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาของกรดกับน้ำก็จะถูกล้อมรอบโดยโมเลกุลของน้ำ ซึ่งเรียกว่าเกิด ไฮเดรชัน ในสมการเคมีจะแสดงไฮเดรชันของไอออนเหล่านี้ด้วยสัญลักษณ์ เอคิว ในปฏิกิริยาระหว่าง HCI กับน้ำนั้น HCI เป็นตัวให้โปรตอน จึงเป็นกรดเบรินสเตด ส่วนน้ำเป็นตัวรับโปรตอน จึงเป็นเบสเบรินสเตด • เริ่มต้นพูด ปรากฏภาพคนและย่อหน้าแรก • เมื่อพูด “ตามทฤษฎีนี้ ไฮโดรเจนไอออน” แสดงสมการตัวอย่างขึ้นมา • เมื่อพูด “จากการทดลองพบว่า”เฟดเปลี่ยนเป็นภาพและข้อความในสไลด์ต่อไป

  7. File :slide4_a หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา นิยามกรด-เบส • นิยามกรด – เบสของเบรินสเตด – ลาวรี (Brnsted – Lowry definitions of acids and bases) แต่ละ H+ที่กรดให้แก่น้ำจะรวมกับโมเลกุลของน้ำที่อยู่ล้อมรอบจำนวน 4 โมเลกุล เกิดเป็นสารเชิงซ้อน H(H2O)4+หรือ H9O4+ซึ่งมีสูตรโครงสร้างดังนี้ • เรามักแทนสารเชิงซ้อนนี้ด้วย H3O+หรือ H+(aq) นอกจากนี้ไอออนที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาของกรดกับน้ำก็จะถูกล้อมรอบโดยโมเลกุลของน้ำ ซึ่งเรียกว่าเกิด ไฮเดรชัน (hydration) ในสมการเคมีจะแสดงไฮเดรชันของไอออนเหล่านี้ด้วยสัญลักษณ์ (aq) • ในปฏิกิริยาระหว่าง HCI กับน้ำนั้น HCI เป็นตัวให้โปรตอน (proton donor)จึงเป็นกรดเบรินสเตด (Brnsted acid) ส่วนน้ำเป็นตัวรับโปรตอน (proton acceptor) จึงเป็นเบสเบรินสเตด (Brnsted base ใน ค.ศ.1923 โยฮันเนส นิโคเลาส์ เบรินสเตด นักเคมีชาวเดนมาร์ก และทอมัส มาร์ติน ลาวรี นักเคมีชาวอังกฤษ ต่างเสนอนิยามของกรดและเบสขึ้นใหม่ว่า กรด คือ สารที่สามารถให้โปรตอนแก่สารอื่น ส่วนเบส คือ สารที่สามารถรับโปรตอน ตามทฤษฎีนี้ ไฮโดรเจนไอออนไม่ได้แตกตัวในน้ำเกิดเป็น H+และ CI-แต่มีการถ่ายโอนโปรตอนจาก HCI ไปสู่โมเลกุลของน้ำ เนื่องจากโปรตอนมีขนาดเล็กมาก เมื่ออยู่ในสารละลายในน้ำจึงเกิดพันธะกับออกซิเจนอะตอม ซึ่งเป็นอะตอมที่มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง ในโมเลกุลของน้ำ เกิดเป็น ไฮโดรเนียนไอออนและ CI-ดังสมการ จากการทดลองพบว่า แต่ละ H+ที่กรดให้แก่น้ำจะรวมกับโมเลกุลของน้ำที่อยู่ล้อมรอบจำนวน 4 โมเลกุล เกิดเป็นสารเชิงซ้อน H(H2O)4+หรือ H9O4+ซึ่งมีสูตรโครงสร้างดังนี้ครับ อย่างไรก็ตามครับ เรามักแทนสารเชิงซ้อนนี้ด้วย H3O+หรือ H+(aq)นอกจากนี้ไอออนที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาของกรดกับน้ำก็จะถูกล้อมรอบโดยโมเลกุลของน้ำ ซึ่งเรียกว่าเกิด ไฮเดรชัน ในสมการเคมีจะแสดงไฮเดรชันของไอออนเหล่านี้ด้วยสัญลักษณ์ เอคิว ในปฏิกิริยาระหว่าง HCI กับน้ำนั้น HCI เป็นตัวให้โปรตอน จึงเป็นกรดเบรินสเตด ส่วนน้ำเป็นตัวรับโปรตอน จึงเป็นเบสเบรินสเตด • แสดงภาพเคลื่อนไหวให้ตัว H แตกออกจาก O แล้วมีเส้นโยงเชื่อมกัน • เมื่อพูด “อย่างไรก็ตามครับ เรามักแทนสา” ปรากฏข้อความด้านข้างขึ้นมา

  8. File :slide 5 หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา นิยามกรด-เบส • คู่กรด – เบส เมื่อกรดเบรินสเตดให้โปรตอนหนึ่งตัวจะเกิดคู่เบส (conjugate base) และเมื่อเบสเบรินสเตดรับโปรตอนหนึ่งตัวจะเกิดคู่กรด (conjugate acid)กรดและเบสตามนิยามของเบรินสเตด – ลาวรีจึงอยู่เป็นคู่กรด – เบส (conjugate acid – base pairs) เช่น HCI(aq) + H2O  H3O+(aq) + CI-(aq) กรด1เบส2 กรด2เบส1 NH3 (aq) + H2O(I) NH4+(aq) + OH-(aq) เบส1กรด2กรด1เบส2 จะเห็นได้ว่า H2O และ HSO4-เป็นได้ทั้งกรดและเบส สารที่ทำหน้าที่ทั้งกรดและเบสนี้เรียกว่า สารแอมฟิโปรติก (amphiprotic substance) เช่นน้ำ และแอนไอออนท่มีโปรตอนเป็นองค์ประกอบ เมื่อกรดเบรินสเตดให้โปรตอนหนึ่งตัวจะเกิดคู่เบส และเมื่อเบสเบรินสเตดรับโปรตอนหนึ่งตัวจะเกิดคู่กรด กรดและเบสตามนิยามของเบรินสเตด – ลาวรีจึงอยู่เป็นคู่กรด – เบส เช่นCI- เป็นคู่เบสของกรด HCIและ H3O+เป็นคู่กรดของ H2Oดังนั้น HCI – CI-และ H3O+ - H2Oจึงเป็นคู่กรด – เบส หรือ NH4+ เป็นคู่กรดของเบส NH3 และ OH- เป็นคู่เบสของกรด H2Oดังนั้น NH4+ - NH3และ H2O - OH-จึงเป็นคู่กรด – เบส ตัวอย่างของคู่กรด – เบสอื่นๆ แสดงดังตาราง ซึ่งจะเห็นได้ว่า H2Oและ HSO4-นั้น เป็นได้ทั้งกรดและเบส สารที่ทำหน้าที่ทั้งกรดและเบสนี้เรียกว่า สารแอมฟิโปรติก เช่น น้ำ และแอนไอออนท่มีโปรตอนเป็นองค์ประกอบตามนิยามกรด – เบสของเบรินสเตด – ลาวรี ปฏิกิริยาระหว่างกรดและเบสจะเกิดขึ้น เมื่อกรดให้โปรตอนแก่เบสเกิดคู่เบสและคู่กรด • เริ่มต้นพูด ปรากฏห้องเห็นแก้วกาแฟวางอยู่ที่โต๊ะ • เมื่อพูด “เช่นCI- เป็นคู่เบส” ปรากฏสมการแถวแรก • เมื่อพูด “หรือ NH4+ เป็นคู่กรด” ปรากฏสมการแถวสอง • เมื่อพูด “เบสอื่นๆ แสดงดังตาราง” แสดงตารางด้านขวาขึ้นมา และข้อความใต้ตาราง • เมื่อพูดจบ ปรากฏปุ่ม • เมื่อคลิก ปรากฏ pop ตารางขึ้นมา คลิกดูตัวอย่างคู่กรด-เบส ตัวอย่างคู่กรด – เบส กรด + เบส2กรด2 + เบส1 HCI(aq) +H2O(I)H3O+(aq) + CI-(aq) H2O(I) +NH3(aq)NH4+(aq) + OH-(aq) HCI(aq) +NH3(aq)NH4+(aq) + CI-(aq) NH4+(aq) +OH-(aq)H2O(I) + NH3(aq) H2PO4-(aq) +H2O(I) H3O+(aq) + HPO42(aq) H3O+(I) +OH-(aq)H2O(I) + H2O(I)

  9. File :slide6 หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา นิยามกรด-เบส แบบฝึกหัด จงระบุคู่กรด – เบสในปฏิกิริยาต่อไปนี้ ก) HF(aq) + NH3(aq) F-(aq) + NH4+(aq) ข) CH3COOH(aq) + H2O(I) CH3COO-(aq) + H3O+(aq) ค) C6H5NH2(aq) + HNO3(I) C6H5NH3+(aq) + H3O-(aq) พิมพ์คำตอบลงในช่องว่าให้ถูกต้อง ก) …………………….. และ …………………….. ข) …………………….. และ …………………….. ค) …………………….. และ …………………….. คลิกดูเฉลย มาฝึกทำแบบฝึกหัดง่ายๆ กันครับ ให้นักศึกษาระบุคู่กรด – เบสในปฏิกิริยาต่อไปนี้ให้ถูกต้องครับ • เริ่มต้นพูด ปรากฏโจทย์และช่องว่างขึ้นมา • เมื่อตอบครบทุกข้อ ให้ปรากฏปุ่มดูเฉลย • เมื่อคลิกปุ่ม ปรากฏ pop text ขึ้นมา เฉลยแบบฝึกหัด ก) HF(กรด) – F-(เบส) และ NH4+(กรด) – NH3(เบส) ข) CH3COOH(กรด) – CH3COO-(เบส)และ H3O+(กรด) – H2O(เบส) ค) HNO3(กรด) – NO3-(เบส) และ C6H5NH3+(กรด) – C6H5NH2(เบส)

  10. File :slide7 หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การแตกตัวของน้ำ น้ำบริสุทธิ์นำไฟฟ้าได้เล็กน้อยไอออนในน้ำเกิดขึ้นเนื่องจากน้ำสามารถทำหน้ที่เป็นทั้งตัวให้โปรตอนและตัวรับโปรตอน น้ำจึงเกิดปฏิกิริยากันเองให้ H3O+และ OH-นอกจากนั้น H3O+สามารถรวมกับ OH-เกิดเป็นโมเลกุลของน้ำและเกิดสมดุล การแตกตัวเป็นไอออนเอง (autoionzation) กรด2 เบส2 เบส1 กรด1 หรือ 2H2O(I) H3O+(aq) + OH-(aq) ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้เขียนได้เป็น Kc = [H2O] 2 [H3O+][OH-] จากการวัดความสามารถในการนำไฟฟ้าของน้ำ พบว่าน้ำบริสุทธิ์ที่ 25๐C มี H3O+และ OH- 1.0 x 10-7โมล/ลิตร ดังนั้น [H3O+] = [OH-] = 1.0 x 10-7 M น้ำบริสุทธิ์นำไฟฟ้าได้เล็กน้อยแสดงว่าในน้ำมีไอออนอยู่เล็กน้อย ไอออนในน้ำเกิดขึ้นเนื่องจากน้ำสามารถทำหน้ที่เป็นทั้งตัวให้โปรตอนและตัวรับโปรตอน น้ำจึงเกิดปฏิกิริยากันเองให้ H3O+และ OH-นอกจากนั้น H3O+สามารถรวมกับ OH-เกิดเป็นโมเลกุลของน้ำและเกิดสมดุล การแตกตัวเป็นไอออนเอง ดังสมการ ซึ่งเราสามารถเขียนสมการค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาได้ดังนี้ครับ จากการวัดความสามารถในการนำไฟฟ้าของน้ำ พบว่าน้ำบริสุทธิ์ที่อุณหภูมิ 25๐C จะมี H3O+และ OH-1.0 x 10-7โมลต่อลิตร ดังนั้นเราจะเขียนสมการของน้ำบริสุทธิ์ดังกล่าวได้ดังนี้ • แสดงข้อความตรงกับเสียงพูด • เมื่อพูด “การแตกตัวเป็นไอออนเอง ดังสมการ” ปรากฏภาพด้านบน และข้อความแถวล่างตามมา • เมื่อพูด “น้ำบริสุทธิ์ดังกล่าวได้ดังนี้” ปรากฏสมการล่างสุด

  11. 0.9971 g H2O 1 mol H2O 1.0 x 10-14 1.0 x 10-7 1.0 x 10-14 1000 mL [H3O+] x x = 55.35 mol H2O/L 1mL 18.015 g H2O 1L [H2O] [OH-] 0.0025 55.35 = = 1.8 x 10-9 File :slide8 หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การแตกตัวของน้ำ ที่ 25๐C ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 0.9971 กรัมต่อมิลลิลิตร ดังนั้นความเข้มข้นของน้ำบริสุทธิ์จะเท่ากับ 55.35 M ตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดที่ใช้ในบ้านเรือนชนิดหนึ่งมีความเข้มข้นของ OH-เท่ากับ 0.025 M จงคำนวณความเข้มข้นของ H3O+ วิธีทำ [H3O+] = อัตราส่วนของความเข้มข้นของ H3O+ (หรือ OH-) ต่อความเข้มข้นของ H2O จึงเป็น 1.8 x 10-9 = = 4.0 x 10-12 M ความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลของโมเลกุล H2O จึงมากกว่าความเข้มข้นของ H3O+และOH-มาก จนสามารถถือได้ว่า [H2O] มีค่าคงที่ Kc x [H2O]2 = [H3O+] [OH-] Kw = [H3O+] [OH-] คลิกดูเนื้อหาเพิ่มเติม คลิกดูตัวอย่าง • ลองมาดูที่อุณหภูมิ 25๐C ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 0.9971 กรัมต่อมิลลิลิตร ดังนั้นความเข้มข้นของน้ำบริสุทธิ์จะเท่ากับ 55.35 M และอัตราส่วนของความเข้มข้นของ H3O+ (หรือ OH-) ต่อความเข้มข้นของ H2Oจึงเป็น 1.8 x 10-9 นั่นคือ โมเลกุลของน้ำที่แตกตัวเป็นไอออนที่ 25๐C นั้นมีเพียง 1.8 ส่วนในพันล้านส่วน ความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลของโมเลกุล H2O จึงมากกว่าความเข้มข้นของ H3O+และOH-มาก จนสามารถถือได้ว่า [H2O] มีค่าคงที่ ดังนั้น จะได้สมการดังนี้ จะเห็นว่าด้านซ้ายของสมการเป็นค่าคงที่ เราเรียกว่า ค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของน้ำ ซึ่งมีสมการดังนี้ • เริ่มต้นพูด ปรากฏข้อความและวิธีคำนวณด้านล่าง • เมื่อพูด “และอัตราส่วนของ” แสดงข้อความและวีธีคำนวณสองแถวถัดมา • เมื่อพุด “ความเข้มข้นที่” แสดงข้อความและวีธีคำนวณสองแถวถัดมา • เมื่อพูด ” จะเห็นว่าด้านซ้าย” กระพริบที่สมการตัวหนา แล้วปรากฏกรอบสมการด้านข้าง • พูดจบปรากฏปุ่ม • เมื่อคลิกแสดง pop text และ PDF (หน้า 8)

  12. File :slide8_b หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การแตกตัวของน้ำ • ข้อจำกัดของนิยามของเบรินสเตด – ลาวรี นิยามนี้ไม่จำกัดว่าปฏิกิริยาต้องเกิดในสารละลายน้ำ สารที่เบสจะเป็นสารใดก็ได้ที่สามารถรับ H+ได้ แต่สารที่จัดว่าเป็นกรด ตามนิยามนี้ยังจำเป็นต้องแตกตัวให้ H+ได้ เช่นเดียวกับนิยามของอาร์เรเนียส ทอมัส มาร์ติน ลาวรี (ค.ศ. 1874-1936) • กล่าวโดยสรุปได้ว่า กรดเบสตามนิยามของเบรินสเตด เลารี ใช้ได้กว้างขวางกว่านิยามกรดเบส ของอาร์เรนียสมาก เพราะนิยามนี้ไม่จำกัดว่าปฏิกิริยาต้องเกิดในสารละลายน้ำ สารที่เบสจะเป็นสารใดก็ได้ที่สามารถรับ H+ได้ แต่สารที่จัดว่าเป็นกรด ตามนิยามนี้ยังจำเป็นต้องแตกตัวให้ H+ ได้ เช่นเดียวกับนิยามของอาร์เรเนียส • เริ่มต้นพูด ปรากฏภาพคน และข้อความตรงกับเสียงพูด

  13.                File :slide9 หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การแตกตัวของน้ำ กรด – เบส ตามนิยามของลิวอิส • ลิวอิส (Lewis) ได้เสนอนิยามสำหรับกรดและเบสไว้ดังนี้ • กรด คือ สารที่รับคู่อิเล็กตรอน • เบส คือ สารที่ให้คู่อิเล็กตรอน ลิวอิส (Lewis) คลิกดูตัวอย่างปฏิกิริยาระหว่างกรดลิวอิสและเบสลิวอิส ลิวอิสได้เสนอนิยามสำหรับกรดและเบสไว้ว่ากรด คือ สารที่รับคู่อิเล็กตรอน ส่วนเบสนั้น คือ สารที่ให้คู่อิเล็กตรอนโดยคู่อิเล็กตรอนที่รับหรือให้หนี้ใช้ในการสร้างพันธะแบบโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์ระหว่างสารทั้งสอง สารที่จัดว่าเป็นกรดลิวอิส มักประกอบด้วยอะตอมที่ขาดอิเล็กตรอนหรือเป็นอะตอมที่มีเวเลนซ์อิเล็ตรอนไม่ครบแปด หรือมีออร์บิทัลว่าง ซึ่งสามารถรับอิเล็กตรอนได้ ส่วนสารที่จัดว่าเป็นเบสลิวอิส จะประกอบด้วยอะตอมที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว เช่น อิเล็กตรอนคูที่ไม่ได้ใช้สร้างพันธะของอะตอมไนโตรเจน ออกซิเจน หรือ คลอรีน เป็นต้น • เริ่มต้นพูด ปรากฏภาพและย่อหน้าแรก+bullet ตรงกับเสียงพูด • เมื่อพูด “สารที่จัดว่าเป็นกรด” แสดงตารางคอลัมภ์ซ้าย • เมื่อพูด “ส่วนสารที่จัดว่าเป็นเบสลิวอิส” แสดงตารางคอลัมภ์ขวา • พูดจบ ปรากฏปุ่ม • เมื่อคลิก แสดงข้อความและเสียงดังนี้ ตัวอย่างปฏิกิริยาระหว่างกรดลิวอิสและเบสลิวอิส มีมากมาย ดังนี้ สมการหน้า 9 เสียงในปุ่ม....สมการ ก และสมการ ข H+และ BF3เป็นกรดลิวอิส เพราะไอออน H+และอะตอม B รับคู่อิเล็กตรอนจาก เบสลิวอิส OH-และ NH3ตามลำดับ สมการ ค HCI เป็นกรดลิวอิสเพราะหลังจาก CI หลุดออกไปแล้วได้ H+ซึ่งจะรับคู่อิเล็กตรอนจากอะตอม N ของ NH3 (NH3จึงเป็นเบสลิวอิส) ส่วนสมการ ง SO3เป็นกรดลิวอิส จะรับคู่อิเล็กตรอนจาก O 2- ออกไซด์ไอออน) ได้ SO42-(ซัลเฟตไอออน)

  14. File :slide11 การแตกตัวของน้ำ เอาภาพหน้า 99 มาใส่ นิยามกรดและเบสของลิวอิส ใช้ได้กว้างขวางกว่านิยยามของอาร์เรเนียส และ เบรินสเตด – ลาวรี มาก เพราะสารรที่จะจัดว่าเป็นกรดตามนิยามของลิวอิสไม่จำเป็นต้องมี H+ไม่จำเป็นว่าจะต้องอยู่ในสารละลายน้ำ กรดหรือเบสอาจอยู่ในสภาพแก๊สหรือของแข็งก็ได้ แต่เราคุ้นเคยกับกรด และเบสตามนิยามของอาร์เรเนียสมากกว่า เพราะปฏิกิริยาต่างๆ มักเกิดในน้ำ และ H+กับ OH-เป็นสิ่งสำคัญเมื่อกล่าวถึงกรดและเบส

  15. เสนอให้ใช้สัญลักษณ์”pH”เพื่อแสดงถึงค่าลบของลอการิทึมของตัวเลขโดย pH คือค่าลบของลอการิทึมของความเข้มข้นของ H3O+ เสนอให้ใช้สัญลักษณ์”pH”เพื่อแสดงถึงค่าลบของลอการิทึมของตัวเลขโดย pH คือค่าลบของลอการิทึมของความเข้มข้นของ H3O+ เสนอให้ใช้สัญลักษณ์”pH”เพื่อแสดงถึงค่าลบของลอการิทึมของตัวเลขโดย pH คือค่าลบของลอการิทึมของความเข้มข้นของ H3O+ เสนอให้ใช้สัญลักษณ์”pH”เพื่อแสดงถึงค่าลบของลอการิทึมของตัวเลขโดย pH คือค่าลบของลอการิทึมของความเข้มข้นของ H3O+ เสนอให้ใช้สัญลักษณ์”pH”เพื่อแสดงถึงค่าลบของลอการิทึมของตัวเลขโดย pH คือค่าลบของลอการิทึมของความเข้มข้นของ H3O+ File :slide12 ความหมายของ pH เขาเสนอให้ใช้สัญลักษณ์ ”pH” โดย pH เพื่อใช้การบอกสภาพกรดของสารละลายโดยใช้ลอการิทึมของความเข้มข้นของ H3O โดย pH คือค่าลบของลอการิทึมของความเข้มข้นของ H3O+ จะมีสมการดังนี้ pH = -log [H3O+] เช่น สารละลายที่มีความเข้มข้นของ H3O+เท่ากับ 0.1 M pH = -log (1 x 10-1) = 1 สารละลายที่มีความเข้มข้นของ H3O+เท่ากับ 0.01 M pH = -log (1 x 10-2) = 2 ซอเรน ปีเตอร์ ลอริทซ์ ซอเรนเซน (Sren Peter Lauritz Srenson) ใน ค.ศ.1909 ซอเรน ปีเตอร์ ลอริทซ์ ซอเรนเซน นักชีวเคมีชาวเดนมาร์ก ซึ่งทำงานในห้องปฏิบัติการของบริษัท คาร์ลสเบอร์ก บริวเวอรี ได้ศึกษาปฏิกิริยาการหมักและประสบปัญหาในการสร้างกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเกิดปฏิกิริยาการหมักกับความเข้มข้นของ H3O+ซึ่งมีช่วงกว้างมาก เขาพยายามหาวิธีที่สะดวกใช้การบอกสภาพกรดของสารละลายโดยใช้ลอการิทึมของความเข้มข้นของ H3O+แต่เนื่องจากสารละลายที่ใช้กันมากในห้องปฏิบัติการมักมีความเข้มข้นของ H3O+ ต่ำกว่า 1 M ลอการิทึมของความเข้มข้นของ H3O+จึงมีค่าเป็นลบ เพื่อให้ได้ค่าบวกซึ่งใช้ได้สะดวกกว่า เขาจึงเสนอให้ใช้สัญลักษณ์ pH เพื่อแสดงถึงค่าลบของลอการิทึมของตัวเลขโดย pH คือค่าลบของลอการิทึมของความเข้มข้นของ H3O+จะมีสมการดังนี้ (ปรากฏสมการ pH) ยกตัวอย่างเช่น สารละลายที่มีความเข้มข้นของ H3O+เท่ากับ 0.1 M จะได้ค่า PH เท่ากับ 1 หรือ สารละลายที่มีความเข้มข้นของ H3O+เท่ากับ 0.01 M pH = 2 • เริ่มต้นพูด ปรากฏภาพคนและชื่อ + ย่อหน้าแรก • เมื่อพูด “ยกตัวอย่างเช่น สารละลาย” แสดงข้อความด้านล่างตรงกับเสียงพูด

  16. File :slide13 ความหมายของ pH ค่า pH ใช้ในการเปรียบเทียบสภาพกรดของสารละลาย โดยการเปรียบเทียบสภาพกรดของสารละลายโดยใช้ค่า pH นี้ใช้ได้เฉพาะเมื่อสารละลายประกอบด้วยตัวทำละลายชนิดเดียวกันเท่านั้น ค่า pH ใช้แสดงความเข้มข้นของ H3O+จึงสามารถระบุว่าสารละลายใดเป็นกรด เบส หรือกลางโดยใช้ค่า pH ดังนี้ • สารละลายกรด : [H3O+] > 1.0 x 10-7 M, pH < 7.00 • สารละลายเบส : [H3O+] < 1.0 x 10-7 M, pH > 7.00 • สารละลายที่เป็นกลาง : [H3O+] = 1.0 x 10-7 M, pH = 7.00 ตัวอย่างจงคำนวณ pH ของน้ำส้มซึ่งมีความเข้มข้นของ H3O+ = 3.2 x 10-4 M วิธืทำpH = -log[H3O+] = -log(3.2 x 10-4) = 3.49 คลิกดูตัวอย่าง ค่า pH ที่ใช้ในการเปรียบเทียบสภาพกรดของสารละลาย เช่น สารละลายที่มี pH 1 จะมีความเป็นกรด 10 เท่าของสารละลายที่มี pH 2 เนื่องจากความเข้มข้นของ H3O+ที่ pH 1 เป็น 10 เท่าของความเข้มข้นของ H3O+ ที่ pH 2 โปรดสังเกตว่า pH จะเพิ่มขึ้นเมื่อความเข้มข้นของ H3O+ลดลง โดยการเปรียบเทียบสภาพกรดของสารละลายโดยใช้ค่า pH นี้ใช้ได้เฉพาะเมื่อสารละลายประกอบด้วยตัวทำละลายชนิดเดียวกันเท่านั้น เพราะถ้าใช้ตัวทำละลายต่างกัน ค่า pH ของสารละลายจะต่างกันด้วย เนื่องจากค่า pH ใช้แสดงความเข้มข้นของ H3O+จึงสามารถระบุว่าสารละลายใดเป็นกรด เบส หรือกลางโดยใช้ค่า pH ดังนี้ ในการหาค่าลอการิทึมของตัวเลขจำนวนหนึ่งนั้น ค่าที่ได้ประกอบด้วยตัวเลขสองชนิดคือ แคแรกเทอริสติกและแมทิสซา เช่น pH = -log(3.2 x 10-4) = 3.49 นักศึกษาสามารถคลิกดูอีกตัวอย่าง เพื่อเข้าใจมากยิ่งขึ้นครับ • เริ่มต้นพูด ปรากฏ mascot กับข้อความตรงกับเสียงพูด • แสดงสมการตามที่กำหนดไว้ในเสียง • เมื่อพูด “นักศึกษาสามารถคลิกดู” ปรากฏปุ่ม • เมื่อคลิก แสดง pop text และเสียงขึ้นมา ดังนี้ ตัวอย่าง จงคำนวณ H3O+ของแอปเปิ้ล มี pH เท่ากับ 3.26 วิธืทำpH = -log[H3O+] = 3.26 [H3O+] = 10-3.26 = 5.5 x 10-4 M เสียงในปุ่ม....ค่า pH 3.26 มีตัวเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ดังนั้นความเข้มข้นของ H3O+ ที่คำนวณได้จะต้องมีตัวเลขนัยสำคัญ 2 ตัว

  17. ความหมายของ pH ในทำนองเดียวกัน จะสามารถบอกสภาพเบสของสารละลาย โดยใช้ pOH ซึ่งเป็นค่าลบของลอการิทึมของความเข้มข้นของ OH- pOH = -log[OH-] จากสมการค่าคงที่การแตกตัวเป็นไอออนของน้ำที่ 25๐C ถ้าทำให้เป็นลบลอการิทึมทั้งสองข้าง จะได้ [H3O+][OH-] = Kw = 1.0 x 10-14 -(log[H3O+] + log[OH-]) = -log(1.0 x 10-14) -log[H3O+] - log[OH-] = 14.00 pH + pOH = 14.00 ตัวอย่าง น้ำทะเลมี pH 8.20 จงคำนวณความเข้มข้นของ H3O+และ OH-ในน้ำทะเล วิธืทำ pH = -log[H3O+] = 8.20 [H3O+] = 10-8.20 = 6.3 x 10-9 M pOH = 14.00 – pH = 14.00 – 8.20 = 5.80 pOH = -log[OH-] = 5.80 [OH-] = 10-5.80 = 1.6 x 10-6 M ในทำนองเดียวกัน จะสามารถบอกสภาพเบสของสารละลายโดยใช้ pOH ซึ่งเป็นค่าลบของลอการิทึมของความเข้มข้นของ OH-(ปรากฏสมการบนสุด) จากสมการค่าคงที่การแตกตัวเป็นไอออนของน้ำที่ 25๐C ถ้าทำให้เป็นลบลอการิทึมทั้งสองข้าง จะได้ (ปรากฏสมการ 4 แถวถัดมาสุด) ค่า pH+pOH = 14.00สมการนี้ใช้ในการเปลี่ยนค่า pH ของสารละลายในน้ำที่ 25๐C ให้เป็น pOH หรือเปลี่ยนค่า pOH ให้เป็น pH ดังตัวอย่างน้ำทะเลมี pH 8.20 ดูซิครับว่าเมื่อเราคำนวณความเข้มข้นของ H3O+และ OH-ในน้ำทะเลนี้ จะได้ค่าความเข้มข้นอยู่ที่เท่าใด • เริ่มต้นพูด ปรากฏ mascot กับข้อความตรงกับเสียงพูด • แสดงสมการตามที่กำหนดไว้ในเสียง • เมื่อพูด “ดังตัวอย่างน้ำทะเล” ปรากฏตัวอย่างและภาพขึ้นมา

  18. ความหมายของ pH ตารางความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลของ H3O+และ OH- ในสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย (ก) กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ H3O+และ OH- [H3O+], M (ข) กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง pH และ pOH ตลอดช่วงความเข้มข้น pH วางเมาส์บนภาพเพื่อขยายใหญ่ สำหรับสารละลายที่ใช้กันมากในห้องปฏิบัติการมักมีความเข้มข้นของ H3O+แตกต่างกันในช่วงกว้าง เช่น 1 ถึง 1 x 10-14 M ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ H3O+, OH-, pH และ pOH ของสารละลาย ดังแสดงในตารางจะเห็นว่าเมื่อนำข้อมูลจากตารางมาเขียนกราฟระหว่างความเข้มข้นของ OH-และความเข้มข้นของ H3O+ จะได้เขียนกราฟ (ปรากฏภาพบน ก. เส้นเคลื่อนไหวขึ้นมา) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ OH-และ H3O+จะทำได้ในช่วงที่ความเข้มข้นแคบๆ เท่านั้น ในสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลาย ทุกจุดบนเส้นโค้งแสดงความเข้มข้นของ H3O+และ OH- เมื่อสารละลายอยู่ในภาวะสมดุล (ปรากฏภาพบน ข. เส้นเคลื่อนไหวขึ้นมา) แต่ถ้าเขียนกราฟระหว่าง pH และ pOH จะสามารถแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลตลอดช่วงความเข้มข้นในตารางความเข้มข้นได้ นอกจากนี้กราฟที่ได้จะเปลี่ยนจากเส้นโค้งไปเป็นเส้นตรงดังภาพครับ • เริ่มต้นพูด ปรากฏ mascot กับตารางขึ้นมา • เมื่อพูด “ความสัมพันธ์ระหว่าง” แสดงช่องสารละลายละไล่แถบสีแดงจากบนมาตรงกลางเป็นขาว และไล่จากล่างน้ำเงินจนมาขาวตรงกลาง • แสดงภาพตามที่กำหนดในเสียง

  19. ความหมายของ pH ในห้องปฏิบัติการจะวัด pH ของสารละลายโดยใช้ มาตร pH (pH meter) กระดาษ pH (pH paper) ตารางpH ของของเหลวหรือสารละลายบางชนิด ในห้องปฏิบัติการจะวัด pH ของสารละลายโดยใช้ มาตร pH ซึ่งเป็นเครื่องมือวัดศักย์ไฟฟ้าที่ขึ้นกับ pH ของสารละลาย (ปรากฏภาพวงสีขึ้นมา) หรืออาจใช้อินดิเคเตอร์กรด – เบส ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ที่เปลี่ยนสีในช่วง pH แคบๆ ถ้าใช้ดิเคเตอร์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป จะสามารถบอกค่า pH โดยประมาณของสารละลายได้ นอกจากนี้อาจใช้ (ปรากฏภาพล่างขึ้น) กระดาษ pH ซึ่งเป็นกระดาษที่ชุบด้วยอินดิเคเตอร์ผสม จากตารางขวามือ แสดงค่า pH ของของเหลวหรือสารละลายบางชนิดครับ • เริ่มต้นพูด ปรากฏ mascot ข้อความตรงกับเสียงพูด • เมื่อพูด “จากตารางขวามือ” mascot หายไป แสดงตารางมาแทนที่

  20. ความแรงสัมพันธ์ของกรดและเบสความแรงสัมพันธ์ของกรดและเบส กรดแบ่งตามความสามารถในการให้โปรตอนแก่น้ำหรือความแรงของกรด ได้ 2 ชนิด คือ 1. กรดแก่ (strong acid) คือ กรดที่ให้โปรตอนแก้น้ำได้ดี เช่น โดยทั่วไปจึงถือว่ากรดแก่แตกตัวได้ 100% ในสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลายและใช้ลูกศร เพื่อแสดงว่ากรดแก่แตกตัวได้สมบูรณ์ 2. กรดอ่อน (weak acid)คือ กรดที่ให้โปรตอนแก่น้ำได้น้อย เช่น HCI(aq) + H2O(I) H3O+(aq)+ CI—(aq) (ก) กรดแก่แตกตัวให้ไฮโดรเนียมไอออนและคู่เบสอย่างสมบูรณ์ (ข) กรดอ่อนแตกตัวเพียงเล็กน้อย ส่วนใหญ่ยังคงอยู่ในรูปโมเลกุลที่ไม่แตกตัว CH3COOH(aq) + H2O(I) H3O+(aq) + CH3COOH-(aq) เรามาดูความแรงสัมพันธ์ของกรดและเบสกัน กรดไฮโดรคลอริกและกรดแอซีติก ต่างก็เป็นกรดเบรินสเตด เนื่องจากกรดทั้งสองเป็นตัวให้โปรตอน อย่างไรก็ดี ถ้านำสารละลายของกรดทั้งสองที่มีความเข้มข้นเท่ากันไปวัดสภาพนำไฟฟ้า จะพบว่าสารละลายกรดไฮโดรครอลิกนำไฟฟ้าได้ดี ส่วนสารละลายกรดแอซีติกนำไฟฟ้าได้น้อย ซึ่งแสดงว่าในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกมีไอออนบวกและไอออนลบมากกว่าในสารละลายกรดแอซีติก การที่กรดทั้งสองชิดนำฟ้าได้ต่างกันนี้ เป็นผลมาจากการที่กรดให้โปรตอนแก่น้ำเกิดไฮโดรเนียมไอออนและไอออนลบในปริมาณที่ต่างกัน จึงแบ่งกรดตามความสามารถในการให้โปรตอนแก่น้ำหรือความแรงของกรด ได้ 2 ชนิดคือ กรดแก่และกรดอ่อน สำหรับกรดแก่ หรือ strong acid คือกรดที่ให้โปรตอนแก้น้ำได้ดี เช่น (ปรากฏสมการของข้อ 1 ขึ้นมา) ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 6 โมล โมเลกุลของกรดไฮโดรคลอริก จะแตกตัว 99.994% เมื่อปฏิกิริยาต่อไปนี้เข้าสู่สมดุล สมดุลนี้ดำเนินไปทางขวาได้มาก โดยทั่วไปจึงถือว่ากรดแก่แตกตัวได้ 100% ในสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลายและใช้ลูกศร เพื่อแสดงว่ากรดแก่แตกตัวได้สมบูรณ์ ส่วนกรดอ่อนหรือ weak acid คือ กรดที่ให้โปรตอนแก่น้ำได้น้อย เช่น (ปรากฏสมการของข้อ 2 ขึ้นมา) ในสารละลาย CH3COOHในปริมาณ 0.10 โมลโมเลกุลของ CH3COOH มีเพียง 1.3% แตกตัวให้โปรตอนแก่น้ำ จากภาพซ้ายมือจะเห็นว่า ในสารละลายน้ำ กรดแก่แตกตัวให้ไฮโดรเนียมไอออนและคู่เบสอย่างสมบูรณ์ แต่ภาพขวามือ แสดงให้เห็นกรดอ่อนแตกตัวเพียงเล็กน้อย ส่วนใหญ่ยังคงอยู่ในรูปโมเลกุลที่ไม่แตกตัว • เริ่มต้นพูด ปรากฏ mascot กับภาพ ก. เคลื่อนไหว ปรากฏลูกเล็กแตกออกจากลูกใหญ่ ออกมา แล้ววนไปเรื่อยๆ ขณะเสียงพูด • เมื่อพูด “จึงแบ่งกรดตามความสามารถ” ให้ภาพหายไป ปรากฏข้อความข้อ 1 และข้อ 2 ตรงกับเสียงพูด • ปรากฏสมการตามที่กำหนดในเสียง • เมื่อพูด “จากภาพซ้ายมือ” แสดงภาพ ก. • เมื่อพูด “แต่ภาพขวามือ แสดง” แสดงภาพ ข.

  21. Ka = [H3O+][A-] [HA] ความแรงสัมพันธ์ของกรดและเบส ความแตกต่างของความสามารถในการตกตัวของกรดแก่และกรดอ่อนนี้ พิจารณาได้จากค่าคงที่ที่สมดุลของปฏิกิริยาระหว่างกรดและน้ำ เมื่อกรด HA ทำปฏิกิริยากับน้ำ จะเกิดการแตกตัวดังสมการ ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาระหว่างกรดHA และน้ำเขียนได้ดังนี้ HA(aq) + H2O(I) H3O+(aq) + A-(aq) Kc = [H3O+][A-] [HA][H2O] ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาระหว่างกรดและน้ำนี้เรียกว่า ค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของกรด (acid dissociation equilibrium constant,Ka) Kcx [H2O] = [H3O+][A-] [HA] ความแตกต่างของความสามารถในการตกตัวของกรดแก่และกรดอ่อนนี้ พิจารณาได้จากค่าคงที่ที่สมดุลของปฏิกิริยาระหว่างกรดและน้ำ เมื่อกรด HA ทำปฏิกิริยากับน้ำ จะเกิดการแตกตัวดังสมการ (ปรากฏสมการบน) และสามารถเขียนค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาระหว่างกรดHA และน้ำ ได้ดังนี้ (ปรากฏสมการแถวที่สอง) เนื่องจากน้ำบริสุทธิ์มีความเข้มข้นสูงและกรดส่วนใหญ่แตกตัวได้น้อย จึงถือได้ว่าความเข้มข้นของน้ำที่ภาวะสมดุลมีค่าคงที่ เขียนสมการได้ดังนี้ (ปรากฏสมการแถวที่สาม) ซึ่งค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาระหว่างกรดและน้ำนี้เรียกว่า ค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของกรด หรือเรียกสั้นๆ ว่า เคเอ สมการเคเอ เขียนได้ดังนี้ (ปรากฏสมการเคเอ) • เริ่มต้นพูด ปรากฏ mascot กับข้อความตรงกับเสียงพูด • ปรากฏสมการตามที่กำหนดในเสียง

  22. ความแรงสัมพันธ์ของกรดและเบสความแรงสัมพันธ์ของกรดและเบส เมื่อกรดแก่ HA ละลายในน้ำ จะทำปฏิกิริยากับน้ำแตกตัวให้ H3O+และ A-ได้ดี เหลือโมเลกุล HA อยู่ในสารละลายน้อยมาก ผลคูณของความเข้มข้นของ H3O+และ A-จึงมีค่ามากกว่าความเข้มข้นของ HA มาก ดังนั้นกรดแก่จึงมี Ka มากกว่า 1 เช่น • ค่า Kaจึงใช้แสดงความแตกต่างระหว่างกรดแก่และกรดอ่อน และใช้บอกความแรงสัมพัทธ์ของกรดชนิดต่างๆ • กรดที่มีค่า Kaสูงกว่าจะมีค่าแรงมากกว่ากรดที่มีค่า Kaต่ำกว่า คลิกดูตัวอย่าง Control navigation zone เสียงบรรยายเทคนิคการนำเสนอ เมื่อกรดแก่ HAละลายในน้ำ จะทำปฏิกิริยากับน้ำแตกตัวให้ H3O+และ A-ได้ดี เหลือโมเลกุล HA อยู่ในสารละลายน้อยมาก ผลคูณของความเข้มข้นของH3O+และ A-จึงมีค่ามากกว่าความเข้มข้นของ HA มาก ดังนั้น กรดแก่จึงมีKaมากกว่า 1 เช่น กรดไฮโดรคลอริกมีค่าKa ประมาณ 1x 106 สำหรับกรดอ่อนทำปฏิกิริยากับน้ำได้น้อย ผลคูณของความเข้มข้นของ H3O+และ A- จึงมีค่าน้อยกว่าความเข้มข้นของ HA ดังนั้น Ka ของกรดอ่อนจึงมีค่าน้อยกว่า 1 เช่น กรดแอซีติก CH3COOHมีค่า Kaเพียง1.8 x 10-5 ดังตัวอย่างตารางค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของกรดแก่ และกรดอ่อนบางชนิดให้โปรตอน 1 ตัว จะเห็นได้ว่าค่า Ka จึงใช้แสดงความแตกต่างระหว่างกรดแก่และกรดอ่อน และใช้บอกความแรงสัมพัทธ์ของกรดชนิดต่างๆ กรดที่มีค่า Ka สูงกว่าจะมีค่าแรงมากกว่ากรดที่มีค่า Ka ต่ำกว่า นักศึกษาคลิกดูตัวอย่างค่า Ka ของกรดอ่อนอาจหาได้จาการวัด pH ของสารละลาย และวิธีคำนวณ • เริ่มต้นพูด ปรากฏ mascot กับย่อหน้าแรก และตารางกรดแก่ • เมื่อพูด “เช่น กรดไฮโดรคลอริก” ปรากฏกรอบเน้นกระพริบที่แถวกรดไฮโดรคลอริก • เมื่อพูด “สำหรับกรดอ่อน” แสดงตารางล่างขึ้น และปรากฏกรอบเน้นกระพริบที่แถวกรดแอซิติก • เมื่อพูด “นักศึกษาคลิกดูตัวอย่าง” แสดงปุ่มคลิก • เมื่อคลิก แสดง PDF เอกสาร หน้า 16

  23. File :…………… ความแรงสัมพันธ์ของกรดและเบส เบสแก่ (Strong base) คือ เบสที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ OH—ได้อย่างสมบูรณ์ เบสแก่จะมีค่า Kbมากกว่า 1 ตัวอย่างของเบสแก่ ได้แก่ ไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล(MOH) H2O 100% เช่น MOH(s)  MOH(aq)  M+(aq) + OH—(aq) ไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ทM(OH)2เป็นเบส (ถ้าละลายน้ำจะแตกตัวได้ 100 %) H2O 100 % เช่น MOH2 (s)  MOH2(aq)  M2+ + 2 OH— (aq) ออกไซด์ของโลหะที่ละลายน้ำได้ดี เช่น Li2O,Na2O, K2O และCaO เป็นเบสแก่ Li2O(s) + H2O(I)  2 Li+(aq) + 2 OH—(aq) CaO(s) + H2O(I)  Ca2+(aq) + 2 OH—(aq) มีเนื้อหาต่อในสไลด์ต่อไป เมื่อสักครู่เราเรียนเรื่องของกรดอ่อน กรดแก่กันแล้ว ทีนี้ เรามาดูเรื่องของเบสกันบ้าง เบสแก่ หรือ Strong base คือ เบสที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ OH—ได้อย่างสมบูรณ์ เบสแก่จะมีค่า Kbมากกว่า 1 ตัวอย่างของเบสแก่ ได้แก่ ไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล (MOH) เช่น (ปรากฏสมการแถว 1 ขึ้น)NaOH (caustic soda) , KOH (caustic potash) ไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท M(OH) 2เป็นเบส ถ้าละลายน้ำจะแตกตัวได้ 100 % เช่น (ปรากฏสมการแถว 2 ขึ้น)Mg(OH)2ละลายน้ำได้น้อยมาก, Ca(OH)2ละลายน้ำได้น้อย, Sr(OH)2ละลายน้ำได้ดีและ Ba(OH)2 ละลายน้ำได้ดีออกไซด์ของโลหะที่ละลายน้ำได้ดี เช่น (ปรากฏสมการแถว 3-4 ขึ้นมา)Li2O,Na2O, K2O และ CaO เป็นเบสแก่ ดังตัวอย่าง ส่วนเบสอ่อน หรือ weak base คือ เบสที่แตกตัวได้น้อยในน้ำ การแตกตัวของเบสอ่อนในน้ำอธิบายได้ในทำนองเดียวกับการแตกตัวของกรดอ่อน เมื่อเบส B ละลายในน้ำ จะทำปฏิกิริยากับน้ำดังสมการ (ปรากฏสมการ) ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาระหว่างเบส B และเขียนได้ดังนี้ (ปรากฏสมการ) เนื่องจากน้ำบริสุทธิ์มีความเข้มข้นสูง จึงถือได้ว่าความเข้มข้นของน้ำที่ภาวะสมดุลมีค่าคงที่ ดังนั้น (ปรากฏสมการ) ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้เรียกว่า ค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของเบส ค่า Kb ใช้บอกความแรงสัมพัทธ์ของเบส ตารางที่ 3-7 แสดงค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของเบสอ่อนบางชนิด • เริ่มต้นพูด ปรากฏ mascot ข้อความตรงกับเสียงพูด • เมื่อพูด “ส่วนเบสอ่อน หรือ weak base” เปลี่ยนเป็นข้อความและสมการในหน้าสไลด์ต่อไปมาแทนที่ทั้งหมด

  24. File :…………… ความแรงสัมพันธ์ของกรดและเบส เบสอ่อน (weak base) คือ เบสที่แตกตัวได้น้อยในน้ำ เมื่อเบส B ละลายในน้ำ จะทำปฏิกิริยากับน้ำดังสมการ B(aq) + H2O(I) BH+(aq) + OH—(aq) ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาระหว่างเบส B และเขียนได้ดังนี้Kc = [BH+] [OH—] [B][H2O] เนื่องจากน้ำบริสุทธิ์มีความเข้มข้นสูง จึงถือได้ว่าความเข้มข้นของน้ำที่ภาวะสมดุลมีค่าคงที่ ดังนั้น Kb = Kc x [H2O] = [BH+][ OH—] [B] ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้เรียกว่า ค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของเบส(base dissociation equilibrium constant, Kb) คลิกดูตารางแสดงค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของเบสอ่อนบางชนิด เมื่อสักครู่เราเรียนเรื่องของกรดอ่อน กรดแก่กันแล้ว ทีนี้ เรามาดูเรื่องของเบสกันบ้าง เบสแก่ หรือ Strong base คือ เบสที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ OH—ได้อย่างสมบูรณ์ เบสแก่จะมีค่า Kbมากกว่า 1 ตัวอย่างของเบสแก่ ได้แก่ ไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล (MOH) เช่น NaOH (caustic soda) , KOH (caustic potash) ไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท M(OH) 2เป็นเบส ถ้าละลายน้ำจะแตกตัวได้ 100 % เช่น Mg(OH)2ละลายน้ำได้น้อยมาก, Ca(OH)2ละลายน้ำได้น้อย, Sr(OH)2ละลายน้ำได้ดีและ Ba(OH)2 ละลายน้ำได้ดีออกไซด์ของโลหะที่ละลายน้ำได้ดี เช่น Li2O,Na2O, K2O และ CaO เป็นเบสแก่ ดังตัวอย่าง ส่วนเบสอ่อน หรือ weak base คือ เบสที่แตกตัวได้น้อยในน้ำ การแตกตัวของเบสอ่อนในน้ำอธิบายได้ในทำนองเดียวกับการแตกตัวของกรดอ่อน เมื่อเบส B ละลายในน้ำ จะทำปฏิกิริยากับน้ำดังสมการ (ปรากฏสมการแถว 1 ขึ้น) ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาระหว่างเบส B และเขียนได้ดังนี้ (ปรากฏสมการแถว 2 ขึ้น) เนื่องจากน้ำบริสุทธิ์มีความเข้มข้นสูง จึงถือได้ว่าความเข้มข้นของน้ำที่ภาวะสมดุลมีค่าคงที่ ดังนั้น (ปรากฏสมการแถว 3)ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้เรียกว่า ค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของเบส นักศึกษาสามารถคลิกศึกษาค่า Kb ใช้บอกความแรงสัมพัทธ์ของเบส ได้จากตารางแสดงค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของเบสอ่อนบางชนิด • ปรากฏ mascot ข้อความตรงกับเสียงพูด • เมื่อพูด “นักศึกษาสามารถ” ปรากฏปุ่ม • คลิกปุ่ม ปรากฏ pop table ขึ้นมา

  25. File :…………… ความแรงสัมพันธ์ของกรดและเบส ตารางแสดงค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของเบสอ่อนบางชนิด

  26. File :………….. ความแรงสัมพันธ์ของคู่กรดและเบส กรดไฮโดรคลอริกเป็นกรดแก่ให้โปรตอนแก่น้ำได้ดี ปฏิกิริยาย้อนกลับจึงเกิดขึ้นได้น้อยมาก ดังนั้น คลอไรด์ไอออน ซึ่งเป็นคู่เบสของกรดไฮโดรคลอริกจึงเป็นเบสที่อ่อนมาก จนอาจถือได้ว่าไม่มีสมบัติเป็นเบส • ดังตัวอย่างสมการนี้ HLac(aq) + H2O(I) H3O+(aq) + CI—(aq) • กรดแก่ เบสที่อ่อนมาก • พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างความแรงของแอมโมเนียมไอออน (NH4+) และคู่เบสแอมโมเนีย (NH3) • NH4+(aq) + H2O(I) H3O+(aq) + NH3(aq) • กรดอ่อน เบสที่ดี • กรดที่มีความแรงมาก คู่เบสจะยิ่งอ่อนมาก • เบสที่มีความแรงมาก คู่กรดจะยิ่งอ่อนมาก แผนภาพเปรียบเทียบคามแรงของคู่กรดเบส กรดไฮโดรคลอริกเป็นกรดแก่ให้โปรตอนแก่น้ำได้ดี ปฏิกิริยาย้อนกลับจึงเกิดขึ้นได้น้อยมาก ดังนั้นคลอไรด์ไอออนซึ่งเป็นคู่เบสของกรดไฮโดรคลอริกจึงเป็นเบสที่อ่อนมาก จนอาจถือได้ว่าไม่มีสมบัติเป็นเบส (ปรากฏสมการแถว 1) ดังตัวอย่างสมการนี้ พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างความแรงของแอมโมเนียมไอออนและคู่เบสแอมโมเนีย (ปรากฏสมการแถว 2 พร้อมภาพ) แอมโมเนียมไอออนเป็นกรดอ่อน เป็นกรดอ่อน จะเห็น Ka = 5.6 x 10-10ให้โปรตอนให้น้อย ปฏิกิริยาย้อนกลับจึงเกิดขึ้นได้ดี นั้นคือแอมโมเนียเป็นเบสที่ดี จากตัวอย่างทั้งสองสรุปได้ว่า กรดที่มีความแรงมาก คู่เบสจะยิ่งอ่อนมาก ส่วนเบสที่มีความแรงมาก คู่กรดจะยิ่งอ่อนมาก ดังแสดงแผนภาพเปรียบเทียบคามแรงของคู่กรดเบส • ปรากฏ mascot ข้อความตรงกับเสียงพูด • เมื่อพูด “และคู่เบสแอมโมเนีย” mascot หายไป ปรากฏภาพเคลื่อนไหวให้แถบสีด้านซ้ายไล่แดงอ่อนจากบนลงล่างเป็นแดงเข้ม และแถบสีด้านขวาไล่น้ำเงินอ่อนจากล่างขึ้นบนเป็นน้ำเงินแก่

  27. File :…………. ผลการปรับระดับความแรงโดยน้ำ • เมื่อละลายในน้ำ กรดแก่ทุกชนิดที่มีความแรงมากกว่า H3O+ จะแตกตัวให้โปรตอนแก่น้ำได้อย่างสมบูรณ์ เกิดเป็น H3O+ • ดังนั้น กรดแก่ทุกชนิดจึงเสมือนกับมีความแรงเท่ากันโดยไม่ขึ้นกับ Ka ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า ผลการปรับระดับความแรง(leveling effect) โดยน้ำ • น้ำเป็นตัวทำละลายที่มีผลทำให้ระดับความแรงของกรดแก่ทุกชนิดเท่ากัน (leveling solvent) • ถ้าใช้ตัวทำลายอื่นที่รับโปรตอนจากกรดแก่ได้ไม่ดีเท่าน้ำ กรดแก่ต่างๆ จะมีความแรงไม่เท่ากัน • ตัวทำละลายที่มีผลให้ระดับความแรงของกรดแก่แตกต่าง (differentiating solvent) ผลการปรับระดับความแรงโดยน้ำ สรุปได้ว่า เมื่อละลายในน้ำ กรดแก่ทุกชนิดที่มีความแรงมากกว่า H3O+ จะแตกตัวให้โปรตอนแก่น้ำได้อย่างสมบูรณ์ เกิดเป็น H3O+ดังนั้นกรดแก่ทุกชนิด จึงเสมือนกับมีความแรงเท่ากันโดยไม่ขึ้นกับ Ka ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า ผลการปรับระดับความแรงโดยน้ำ นั่นคือ น้ำเป็นตัวทำละลายที่มีผลทำให้ระดับความแรงของกรดแก่ทุกชนิดเท่ากันถ้าใช้ตัวทำลายอื่นที่รับโปรตอนจากกรดแก่ได้ไม่ดีเท่าน้ำ กรดแก่ต่างๆ จะมีความแรงไม่เท่ากัน เช่น เมื่อใช้กรดแอซีติกล้วนเป็นตัวละลายแทนน้ำ HCIO4(Ka = 1 x 106) ถึง 5,000 เท่า กรดแอซีติกล้วนจึงเป็นตัวทำละลายที่มีผลให้ระดับความแรงของกรดแก่แตกต่าง เรียกว่า differentiating solvent • เริ่มพูด แสดงภาพจริงแล้วแสดงภาพเคลื่อนไหววงสีขาววิ่งไปจับสีแดง วนไปเรื่อยๆ • ปรากฏข้อความ bullet ตรงกับเสียงพูด

  28. File :…………. การเปรียบเทียบความแรงของกรด ในการเปรียบความแรงของกรด จะแบ่งกรดออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ก. กรดไฮโดร (hydro acid) ประกอบด้วยอะตอมไฮโดรเจน และอะตอมของโลหะอื่นอีก 1 ชนิดมีสูตรHm A เมื่อ A คืออะตอมของโลหะ ตัวอย่างของกรดไฮโดร ได้แก่ HCI, H2S สูตรโครงสร้างระหว่างอะตอม H และ A เป็น H – A ถ้า H+หลุดง่าย กรดนั้นจัดว่าเป็นกรดแก่ • ปัจจัยที่มีผลต่อความแรงของกรด HA ได้แก่ สภาพมีขั้ว (bond polarity) และมีความแข็งแรง (bond strength) ของพันธะ H – A • เมื่อ HA ให้โปรตอนแก่น้ำจะเกิดการสลาพันธะ H – A ให้ H+และ A—การสลายพันธะดังกล่าวจะเพิ่มขึ้น เมื่ออิเล็กโทรเน-กาติวิตีของ A เพิ่มขึ้น • ความแรงของกรด HA จะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของพันธะ H - A ซึ่งพิจารณาได้จากพลังงานสลายพันธะ(พลังงานที่ต้องใช้ทำให้ HA แตกตัวเป็น H อะตอม และ A อะตอมถ้าพลังงานสลายพันธะน้อย กรดจะมีความแรงมาก มีเนื้อหาต่อในสไลด์ถัดไป ในการเปรียบความแรงของกรด จะแบ่งกรดออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กรดไฮโดร และกลุ่มกรดออกซี เรามาดูกลุ่มแรกกันก่อน นั่นก็คือ กรดไฮโดร เป็นกรดที่ประกอบด้วยอะตอมไฮโดรเจน และอะตอมของโลหะอื่นอีก 1 ชนิดมีสูตรHm Aเมื่อ A คือ อะตอมของโลหะ ตัวอย่างของกรดไฮโดร ได้แก่ HCI, H2S สูตรโครงสร้างระหว่างอะตอม H และX เป็น H-A ถ้า H- หลุดง่าย กรดนั้นจัดว่าเป็นกรดแก่ ปัจจัยที่มีผลต่อความแรงของกรด HA ได้แก่ สภาพมีขั้ว และมีความแข็งแรงของพันธะ H – A เมื่อ HA ให้โปรตอนแก่น้ำจะเกิดการสลาพันธะ H – A ให้ H+และ A—การสลายพันธะดังกล่าวจะเพิ่มขึ้น เมื่ออิเล็กโทรเนกาติวิตีของ A เพิ่มขึ้น ความแรงของกรด HA จะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของพันธะ H - A ซึ่งพิจารณาได้จากพลังงานสลายพันธะ(พลังงานที่ต้องใช้ทำให้HA แตกตัวเป็น H อะตอม และ A อะตอม ถ้าพลังงานสลายพันธะน้อย กรดจะมีความแรงมาก สำหรับกรด HA ของธาตุในหมู่เดียวกันของตารางธาตุ ความแข็งแรงของพันธะ H - A เป็นปัจจัยที่มีผลต่อสภาพกรดมากที่สุด โดยความแข็งแรงของพันธะ H - A จะลดลงเมื่อขนาดอะตอมของ A เพิ่มขึ้นดังนั้น สภาพกรดจึงเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง เช่นกรดไฮโดรเฮลิก HA ขนาดของ A อะตอมเพิ่มขึ้นจาก F ไป I ดังนั้นความแข็งแรงของพันธะจะลดลงและสภาพกรดเพิ่มขึ้นจาก HF ไป HI โดย HF เป็นกรดอ่อน ในขณะที่ HCI , HBr และHI เป็นกรดแก่ที่มีความแรงขึ้นตามลำดับ ดังตาราง • เริ่มพูด แสดง mascot และข้อความตรงกับเสียงพูด • แสดงภาพเคลื่อนไหว เฟดภาพขึ้นบน ไปเรื่อยๆ ขณะเสียงพูด • เมื่อพูด “สำหรับกรด HA ของธาตุ” เฟดข้อความเดิมออก แทนที่ด้วยข้อความและตารางในสไลด์ถัดไป

  29. File :…………. การเปรียบเทียบความแรงของกรด ในการเปรียบความแรงของกรด จะแบ่งกรดออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ก. กรดไฮโดร (hydro acid) ประกอบด้วยอะตอมไฮโดรเจน และอะตอมของโลหะอื่นอีก 1 ชนิดมีสูตรHm A เมื่อ A คืออะตอมของโลหะ ตัวอย่างของกรดไฮโดร ได้แก่ HCI, H2S สูตรโครงสร้างระหว่างอะตอม H และ A เป็น H – A ถ้า H+หลุดง่าย กรดนั้นจัดว่าเป็นกรดแก่ • สำหรับกรด HA ของธาตุในหมู่เดียวกันของตารางธาตุ ความแข็งแรงของพันธะ H - A เป็นปัจจัยที่มีผลต่อสภาพกรดมากที่สุด โดยความแข็งแรงของพันธะ H - A จะลดลงเมื่อขนาดอะตอมของ A เพิ่มขึ้น ดังนั้น สภาพกรดจึงเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง ในทำนองเดียวกัน ความแรงของ H2O < H2S < H2Se < H2Te ในการเปรียบความแรงของกรด จะแบ่งกรดออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กรดไฮโดร และกลุ่มกรดออกซี เรามาดูกลุ่มแรกกันก่อน นั่นก็คือ กรดไฮโดร เป็นกรดที่ประกอบด้วยอะตอมไฮโดรเจน และอะตอมของโลหะอื่นอีก 1 ชนิดมีสูตรHm Aเมื่อ A คือ อะตอมของโลหะ ตัวอย่างของกรดไฮโดร ได้แก่ HCI, H2S สูตรโครงสร้างระหว่างอะตอม H และX เป็น H-A ถ้า H- หลุดง่าย กรดนั้นจัดว่าเป็นกรดแก่ ปัจจัยที่มีผลต่อความแรงของกรด HA ได้แก่ สภาพมีขั้ว และมีความแข็งแรงของพันธะ H – A เมื่อ HA ให้โปรตอนแก่น้ำจะเกิดการสลาพันธะ H – A ให้ H+และ A—การสลายพันธะดังกล่าวจะเพิ่มขึ้น เมื่ออิเล็กโทรเนกาติวิตีของ A เพิ่มขึ้น ความแรงของกรด HA จะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของพันธะ H - A ซึ่งพิจารณาได้จากพลังงานสลายพันธะ(พลังงานที่ต้องใช้ทำให้HA แตกตัวเป็น H อะตอม และ A อะตอม ถ้าพลังงานสลายพันธะน้อย กรดจะมีความแรงมาก สำหรับกรด HA ของธาตุในหมู่เดียวกันของตารางธาตุ ความแข็งแรงของพันธะ H - A เป็นปัจจัยที่มีผลต่อสภาพกรดมากที่สุด โดยความแข็งแรงของพันธะ H - A จะลดลงเมื่อขนาดอะตอมของ A เพิ่มขึ้นดังนั้น สภาพกรดจึงเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง เช่นกรดไฮโดรเฮลิก HA ขนาดของ A อะตอมเพิ่มขึ้นจาก F ไป I ดังนั้นความแข็งแรงของพันธะจะลดลงและสภาพกรดเพิ่มขึ้นจาก HF ไป HI โดย HF เป็นกรดอ่อน ในขณะที่ HCI , HBr และHI เป็นกรดแก่ที่มีความแรงขึ้นตามลำดับ ดังตาราง • เมื่อพูด “สำหรับกรด HA ของธาตุ” ปรากฏข้อความ • เมื่อพูด “เช่นกรดไฮโดรเฮลิก HA” แสดงตารางเฟดไล่ทีละแถวขึ้นมา

  30. File :slide18 การเปรียบเทียบความแรงของกรด • สำหรับกรด HA ของธาตุในคาบเดียวกันของตารางธาตุ ความแรงของกรด HA ของธาตุในคาบเดียวกันของตารางธาตุในคาบเดียวกันของตารางธาตุเพิ่มขึ้นเมื่ออิเล็กโทรเนกาติวิตีของ A เพิ่มขึ้น • ความแข็งแรงของพันธะลดลง ความแข็งแรงของกรดเพิ่มขึ้น ความแรงของกรดเพิ่มขึ้น EN ของ A เพิ่มขึ้น ความแรงของกรด HA เพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวาของตารางธาตุ เนื่องจากอิเล็กโทรเนกาติวิตีของ A เพิ่มขึ้นและเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง เนื่องจากความแข็งแรงของพันธะ H- A ลดลง Control navigation zone เสียงบรรยายเทคนิคการนำเสนอ สำหรับกรด HAของธาตุใรคาบเดียวกันของตารางธาตุ ความแข็งแรงของพันธะ H- Aต่างกันไม่มากนักสภาพมีขั้วของพันธะ H-Aจึงเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความแรงของกรดมากที่สุด ความแรงของกรดHA ของธาตุในคาบเดียวกันของตารางธาตุในคาบเดียวกันของตารางธาตุเพิ่มขึ้น เมื่ออิเล็กโทรเนกาติวิตีของ A เพิ่มขึ้น เช่นความแรงของ HA ของธาตุในคาบที่สองของตารางธาตุ CH4 < แอมโมเนีย < H2O < HF พันธะ C- H เป็นพันธะที่ไม่มีขั้ว ดังนั้นมีเทน (CH4) จะไม่สามารถแตกตัวให้ H3O+ ได้ พันธะ N_Hเป็นพันธะที่มีขั้วน้อย แอมโมเนีย (NH3) จึงแตกตัวให้ H3O+ ได้น้อยมากจนตัดทิ้งได้ ส่วนพันธะ O-HและH-F เป็นพันธะมีขั้ว น้ำและกรดไฮโดรฟลูออริกจึงมีความแรงของกรดมากขึ้น จากตารางจะเห็นว่า ความแรงของกรด HA เพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวาของตารางธาตุ เนื่องจากอิเล็กโทรเนกาติวิตีของ A เพิ่มขึ้นและเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง เนื่องจากความแข็งแรงของพันธะ H- A ลดลง • เริ่มพูด แสดง bullet บนขึ้นมา • เมื่อพูด “พันธะ C- H เป็นพันธะ” ปรากฏตารางขึ้นมาทีละแถว • เมื่อพูด “จากตารางจะเห็นว่า” แสดงตารางด้านล่างเฟดตามแนวลูกศรขึ้นมา พร้อมกับข้อความใต้ภาพขึ้นมา

  31. Y O H + H2O H3O+ + Y O— File :slide20 การเปรียบเทียบความแรงของกรด • สำหรับกรดออกซี (oxyacids)คือ กรดที่ประกอบด้วยธาตุ 3 ชนิด คือไฮโดรเจน ออกซิเจน และธาตุอื่นอีก 1 ชนิด ซึ่งทำหน้าที่เป็นอะตอมกลาง Y กรดคาร์บอนิก (H2CO3) กรดไนทริก (HNO3) กรดซัลฟิวริก (H2SO4) กรดไฮโปคลอรัส (HCIO) กรดออกซีแตกตัวโดยการสลายพันธะ O-H ปัจจัยที่ทำให้ความแข็งแรงของพันธะ O-H ลดลง หรือสภาพมีขั้วเพิ่มขึ้น ได้แก่ อิเล็กโทรเนติวตีและเลขออกซิเดนชันของ Y ในสมการ สำหรับกรดออกซี คือ (ปรากฏภาพ 4 เคลื่อนไหวขึ้นมา) กรดที่ประกอบด้วยธาตุ 3 ชนิด คือ ไฮโดรเจน ออกซิเจน และธาตุอื่นอีก 1 ชนิด ซึ่งทำหน้าที่เป็นอะตอมกลาง Y เช่น H2CO3, HNO3, H2SO4,HCIO,…. มีสูตรทั่วไปเป็น HnYOmเมื่อ Y คือ อะตอมของโลหะ เช่น C, N, S, CI, …. และ n, m คือ เลขจำนวนเต็ม Y อะตอมจะเกิดพันธะกับหมู่ไฮโดรดรอกซิล หรือ OH อย่างน้อย 1 เสมอ นอกจากนั้น อาจจะเกิดพันธะกับออกซิเจนอะตอมอีก 1, 2 หรือ 3 อะตอม กรดออกซีแตกตัวโดยการสลายพันธะ O-H ดังนั้น ปัจจัยใดที่ทำให้ความแข็งแรงของพันธะระหว่างออกซิเจนกับไฮโดรเจนลดลง หรือ สภาพมีขั้วเพิ่มขึ้น จะทำให้ความแรงของกรดเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัย ได้แก่ อิเล็กโทรเนติวตีและเลขออกซิเดนชันของ Y ในสมการ ต่อไปนี้ (ปรากฏสมการ) สำหรับกรดออกซีที่มีจำนวนหมู่ OH เท่ากันและจำนวน O อะตอมเท่ากัน ความแรงของกรดจะเพิ่มขึ้นเมื่ออิเล็กโทรเนกาติวิต้ของ Y เพิ่มขึ้น เช่น ความแรงของกรดไฮโปเฮลัส ซึ่ง HOYเมื่อ Y = CI, Br หรือ I จะเพิ่มขึ้นเมื่ออิเล็กโทรเนกาติวิตีของเฮโลเจนเพิ่มขึ้น เมื่อ อิเล็กโทรเนติกาติวิตีของเฮโลเจนเพิ่มขึ้น อิเล็กตรอนจากพันธะ O- H จะถูกดึงดูดเข้าสู่เฮโลเจนเพิ่ขึ้น ทำให้พันธะ O-H อ่อนลงและสภาพมีขั้วเพิ่มขึ้น เกิดการถ่ายโอนโปรตอนให้แก่น้ำ ซึ่งเป็นตัวทำละลายได้ง่ายขึ้น ความแรงของกรดเพิ่มขึ้น • เริ่มพูด แสดง bullet บน ขึ้นมา+mascot • เมื่อพูด “เช่น H2CO3, HNO3” ปรากฏ ภาพไล่จากซ้ายไปขวาทีละภาพขึ้นมา • เมื่อพูด “ดังนั้น ปัจจัยใดที่ทำให้” mascot หายไป แสดงสมการขึ้นมา • เมื่อพูด “สำหรับกรดออกซีที่มีจำนวน” เฟดข้อความและสมการใหม่ในสไลด์ถัดไปมาแทนที่ทั้งหมด

  32. Y O H + H2O H3O+ + Y O— File :slide20 การเปรียบเทียบความแรงของกรด • สำหรับกรดออกซี (oxyacids)ที่มีจำนวนหมู่ OH เท่ากันและจำนวน O อะตอมเท่ากัน ความแรงของกรดจะเพิ่มขึ้นเมื่ออิเล็กโทรเนกาติวิต้ของ Y เพิ่มขึ้น ความแรงของกรด HCIO > HBrO > HIO สำหรับกรดออกซี คือ (ปรากฏภาพ 4 เคลื่อนไหวขึ้นมา) กรดที่ประกอบด้วยธาตุ 3 ชนิด คือ ไฮโดรเจน ออกซิเจน และธาตุอื่นอีก 1 ชนิด ซึ่งทำหน้าที่เป็นอะตอมกลาง Y เช่น H2CO3, HNO3, H2SO4,HCIO,…. มีสูตรทั่วไปเป็น HnYOmเมื่อ Y คือ อะตอมของโลหะ เช่น C, N, S, CI, …. และ n, m คือ เลขจำนวนเต็ม Y อะตอมจะเกิดพันธะกับหมู่ไฮโดรดรอกซิล หรือ OH อย่างน้อย 1 เสมอ นอกจากนั้น อาจจะเกิดพันธะกับออกซิเจนอะตอมอีก 1, 2 หรือ 3 อะตอม กรดออกซีแตกตัวโดยการสลายพันธะ O-H ดังนั้น ปัจจัยใดที่ทำให้ความแข็งแรงของพันธะระหว่างออกซิเจนกับไฮโดรเจนลดลง หรือ สภาพมีขั้วเพิ่มขึ้น จะทำให้ความแรงของกรดเพิ่มขึ้น โดยมีปัจจัย ได้แก่ อิเล็กโทรเนติวตีและเลขออกซิเดนชันของ Y ในสมการ ต่อไปนี้ (ปรากฏสมการ) สำหรับกรดออกซีที่มีจำนวนหมู่ OH เท่ากันและจำนวน O อะตอมเท่ากัน ความแรงของกรดจะเพิ่มขึ้นเมื่ออิเล็กโทรเนกาติวิต้ของ Y เพิ่มขึ้น เช่น ความแรงของกรดไฮโปเฮลัส ซึ่ง HOYเมื่อ Y = CI, Br หรือ I จะเพิ่มขึ้นเมื่ออิเล็กโทรเนกาติวิตีของเฮโลเจนเพิ่มขึ้น เมื่ออิเล็กโทรเนติกาติวิตีของเฮโลเจนเพิ่มขึ้น อิเล็กตรอนจากพันธะ O- H จะถูกดึงดูดเข้าสู่เฮโลเจนเพิ่ขึ้น ทำให้พันธะ O-H อ่อนลงและสภาพมีขั้วเพิ่มขึ้น เกิดการถ่ายโอนโปรตอนให้แก่น้ำ ซึ่งเป็นตัวทำละลายได้ง่ายขึ้น ความแรงของกรดเพิ่มขึ้น • เริ่มพูด แสดงข้อความขึ้นมา • เมื่อพูด “เมื่ออิเล็กโทรเนติกาติวิตีของเฮโลเจนเพิ่มขึ้น” ปรากฏ ตารางแสดงทีละแถว

  33. File :slide20 การเปรียบเทียบความแรงของกรด • สำหรับกรดออกซีที่มี Y อะตอมชนิดเดียวกัน แต่มีจำนวนอะตอมของออกซิเจนต่างกัน ความแรงของกรดเพิ่มขึ้นเมื่อเลขออกซเดชันของ Y เพิ่มขึ้น HCIO < HCIO2 < HCIO3 < HCIO4 • ปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อความแรงของกรดออกซี คือ เสถียรภาพสัมพันธ์ของไอออนลบที่เกิดขึ้นจากการแตกตัวของกรด (CIOm—) CIOm— จะเสถียรขึ้นเมื่อจำนวนของออกซิเจนเพิ่มขึ้นตามลำดับ ดังนี้ เสถีรภาพ CIO— < CIO2— < CIO3— < CIO4— ชื่อไอออน ไฮโปคลอไรด์ไอออน คลอไรต์ไอออน คลอเรตไอออน เปอร์คลอเรตไอออน (hypochlorite ion) (chlorite ion) (chlorate ion) (perchlorate ion) Control navigation zone เสียงบรรยายเทคนิคการนำเสนอ สำหรับกรดออกซีที่มี Y อะตอมชนิดเดียวกัน แต่มีจำนวนอะตอมของออกซิเจนต่างกัน ความแรงของกรดเพิ่มขึ้นเมื่อเลขออกซเดชันของ Y เพิ่มขึ้น หรือจำนวนออกซิเจนอะตอมเพิ่มขึ้นเช่น ความแรงของกรดออกซีของ CI เมื่อจำนวนของ O ใน HCIOmเพิ่มขึ้น ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนที่ดึงดูดเข้าสู่ O อะตอม EN สูงกว่าจะเพิ่มขึ้น CI อะตอมจึงมีประจุบวกมากขึ้นเมื่อเลขออกซิเดชั่นเพิ่มขึ้น และดูดอิเล็กตรอนจากพันธะ O-H ได้ดีขึ้น ทำให้พันธะ O-H แข็งแรงน้อยลงและสภาพมีขั้วเพิ่มขึ้น จึงเกิดการถ่ายโอนโปรตอนให้แก่น้ำได้ดี อีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อความแรงของกรดออกซี ก็คือ เสถียรภาพสัมพันธ์ของไอออนลบที่เกิดขึ้นจากการแตกตัวของกรด (CIOm—) CIOm—จะเสถียรขึ้นเมื่อจำนวนของออกซิเจนเพิ่มขึ้นตามลำดับ ดังนี้ จะเห็นว่าเมื่อเสถีรภาพของไอออนลบเพิ่มขึ้น กรดจะมีแนวโน้มที่จะเกิดการแตกตัวมากขึ้น ความแรงของกรดจึงเพิ่มขึ้น ในทำนองเดียวกัน ก็อธิบายได้ว่าเหตุใดกรดซัลฟิวริก (H2SO4) จึงเป็นกรดที่แก่กว่ากรดซัลฟิวรัส (H2SO3) • เริ่มพูด แสดงข้อความขึ้นมา • เมื่อพูด ” เช่น ความแรงของกรดออกซี” ปรากฏตารางแสดงทีละแถว • เมื่อพูด “อีกปัจจัยหนึ่งที่มีผล” แสดง bullet ล่าง • เมื่อพูด “คือ เสถียรภาพสัมพันธ์” ปรากฏสมการทั้งแถวไล่จากซ้ายไปขวา

  34. การเปรียบเทียบความแรงของเบสการเปรียบเทียบความแรงของเบส ในการเปรียบเทียบความแรงของเบส จะต้องเปรียบเทียบในกลุ่มเบสที่มีความคล้ายกัน เช่น อยู่ในรูปโมเลกุลหรืออยู่ในรูปไอออนเหมือนกัน แล้วเปรียบเทียบความแรงของเบสในแต่ละกลุ่ม ก. พิจารณาจากคู่กรด – เบส ข. พิจารณาจากความหนาแน่นของประจุ ค. เบสที่มีความหนาแน่นของประจุลบเท่า ๆ กัน คลิกหัวข้อเพื่อดูตัวอย่าง มาดูการเปรียบเทียบความแรงของเบสกันบ้าง ในการเปรียบเทียบความแรงของเบส จะต้องเปรียบเทียบในกลุ่มเบสที่มีความคล้ายกัน เช่น อยู่ในรูปโมเลกุลหรืออยู่ในรูปไอออนเหมือนกัน แล้วเปรียบเทียบความแรงของเบสในแต่ละกลุ่ม ในที่นี้ มีสองกลุ่มด้วยกันคือ พิจารณาจากคู่กรด – เบส และกลุ่มที่สองเป็นการพิจารณาจากความหนาแน่นของประจุ เวลาเปรียบเทียบความแรงของเบสที่มีประจุลบให้ดูที่มีความหนาแน่นของประจุลบของเบสนั้น เบสที่มีความหนาแน่นของประจุลบมากจะเป็นเบสที่แก่กว่า และ สำหรับเบสที่มีความหนาแน่นของประจุลบเท่าๆ กัน เบสที่ประกอบด้วยอะตอมที่มีอิเล็กโตรเนกาติวิตีสูงจะเป็นเบสที่อ่อนกว่า นักศึกษาสามารถคลิกดูตัวอย่างการเปรียบเทียบเพื่อความเข้าใจมากขึ้น เสียงในกลุ่ม ก......มาดูกลุ่มแรกกันก่อนครับ เป็นการพิจารณาจากคู่กรด – เบส คือ คู่เบสของกรดแก่ จะเป็นเบสอ่อน และคู่เบสของกรดอ่อน จะเป็นเบสแก่ ดังตัวอย่างคู่กรดเบส ชุดที่ 1 และชุดที่สองที่แสดงอยู่นี้ เสียงในกลุ่ม ข.... การเปรียบเทียบความแรงของเบส โดยพิจารณาจากความหนาแน่นของประจุ เสียงในปุ่ม 3.... ตัวอย่างการเปรียบเทียบความแรงเบส NH-2, OH- และ F- สำหรับเบสที่มีความหนาแน่นของประจุลบเท่า ๆ กัน • เริ่มพูด แสดง mascot และข้อความ • ปรากฏปุ่มตรงกับเสียงพูด • เมื่อคลิก แสดง pop text ขึ้นมาดังในสไลด์ถัดไป

  35. ความแรงของกรด ความแรงของเบส ความแรงของกรด ความแรงของเบส ก. ตัวอย่างพิจารณาจากคู่กรด – เบส เช่น คู่กรด – เบส ชุดที่ 1 คู่กรด – เบส ชุดที่ 2 คู่กรด คู่เบส H3SbO4 H2SbO—4 H3AsO4 H2AsO—4 H3PO4 H2PO—4 คู่กรด คู่เบส HF F— HCI CI— HBr Br— HBr เป็นกรดที่แรงกว่า HF  Br เป็นเบสที่อ่อนกว่า F— หรือ HF เป็นกรดที่อ่อนกว่า HBr  F—เป็นเบสที่แรงกว่า Br— H3PO4 เป็นกรดที่แรงกว่า H3SbO4  H3PO4 เป็นเบสที่อ่อนกว่า H2SbO—4 หรือ H3SbO4 เป็นกรดที่อ่อนกว่า H3PO4  H2PO—4เป็นเบสที่แรงกว่า H2PO—4 ข. ตัวอย่างการเปรียบเทียบความแรงของเบส โดยพิจารณาจากความหนาแน่นของประจุ 1) เปรียบเทียบความแรงของเบสระหว่าง O2-และ S2- (อะตอม O และ S อยู่ในหมู่เดียวกัน) 2) เปรียบเทียบความแรงของเบสระหว่าง N3—, O2-และ F— (อะตอม N,O,F อยู่ในคาบเดียวกัน) รัศมีของไอออน O2- < S2-  ความหนาแน่นของประจุลบ O2- > S2  ความแรงของเบส O2- > S2  3) เปรียบเทียบความแรงของเบสระหว่าง N3- , NH2- และ NH-2 รัศมีของอะตอม N,O,F ต่างกันไม่มากเพราะอยู่ในคาบเดียวกัน  ความหนาแน่นของประจุลบ N3— > O2- > F—  ความแรงของเบส N3— > O2- > F—  ค. ตัวอย่างการเปรียบเทียบความแรงเบส NH-2, OH- และ F- สำหรับเบสที่มีความหนาแน่นของประจุลบเท่าๆ กัน • รัศมีของไอออน N3-< NH2- < NH-2 • ความหนาแน่นของประจุลบ N3-> NH2- > NH-2 • ความแรงของเบส N3-> NH2- > NH-2  • ถ้ารัศมีของ NH-2OH- และ F- เท่าๆกัน • ความหนาแน่นของประจุลบ NH-2, OH- และ F- มีค่าเท่าๆ กัน • แต่อิเล็กโตรเนกาติวิตี N < O < F •  ความแรงของเบส NH-2 > OH > F

  36. HA(aq) + H2O(I)  H3O+(aq) + A-(aq) การคำนวณ pH ของกรดแก่และเบสแก่ กรดแก่มีทั้งชนิดที่แตกตัวให้โปรตอนได้หนึ่งตัวต่อหนึ่งโมเลกุลซึ่งเรียกว่า กรดหนึ่งโปรตอน (monoprotic acid)เช่น HCIO4, HCI, HBr, HI, HNO3 และชนิดที่แตกตัวให้โปรตอนได้สองตัวต่อหนึ่งโมเลกุล ซึ่งรียกว่า กรดสองโปรตอน (diprotic acid) เช่น H2SO4 HA(aq) + H2O(I)  H3O+(aq) + A-(aq) ความเข้มข้นเริ่มต้น (M) Ca 0.00 0.00 ความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลง (M) — Ca + Ca + Ca ความเข้มข้นสุดท้าย (M) 0.00 Ca Ca • เบสแก่พวกไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล เช่น NaOH แตกตัวได้ 100 % ในสารละลายในน้ำ ดังนั้น สารละลาย NaOH 0.10 M จึงประกอบด้วย Na+ 0.10 M และ OH- 0.10 M pH ของสารละลาย NaOH0.10 M จึงคำนวณได้จากความเข้มข้นของ OH- • เบสแก่ไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท เช่น Ba(OH)2จะแตกตัวได้ 100 % ในสารละลายในน้ำให้ OH- ซึ่งมีความเข้มข้นเป็นสองเท่าของความเข้มข้นเริ่มต้นของ Ba(OH)2 คลิกดูตัวอย่าง กรดแก่มีทั้งชนิดที่แตกตัวให้โปรตอนได้หนึ่งตัวต่อหนึ่งโมเลกุลซึ่งเรียกว่า กรดหนึ่งโปรตอน เช่น HCIO4, HCI, HBr, HI, HNO3และชนิดที่แตกตัวให้โปรตอนได้สองตัวต่อหนึ่งโมเลกุลซึ่งรียกว่า กรดสองโปรตอน เช่น H2SO4เนื่องจากกรดหนึ่งโปรตอนตอนแตกตัวในน้ำได้ 100 % ความเข้มข้นของ H3O+และ A- ในสารละลายกรดแก่ HA จึงเท่ากับความเข้มข้นเริ่มต้นของกรด และความเข้มข้นของ HA ที่ไม่แตกตัวจึงเป็นศูนย์ ดังนั้น pH ของสารละลายกรดแก่หนึ่งโปรตีนจึงคำนวณได้ง่ายจากความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดแก่ สำหรับการคำนวณ pH ของกรดแก่สองโปรตอน เช่น H2SO4 จะยุ่งยากกว่าเนื่องจาก H2SO4 แตกตัว 100 % ให้ H3O+ และ HSO4— แต่ HSO4—แตกตัวให้ H3O+ และ SO42-ได้น้อยกว่า 100 % สำหรับเบสแก่พวกไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล เช่น NaOH แตกตัวได้ 100 % ในสารละลายในน้ำ ดังนั้นสารละลาย NaOH 0.10 M จึงประกอบด้วย Na+ 0.10 Mและ OH- 0.10 MpH ของสารละลาย NaOH0.10 M จึงคำนวณได้จากความเข้มข้นของ OH- ส่วนเบสแก่ไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท เช่น Ba(OH)2จะแตกตัวได้ 100 % ในสารละลายในน้ำให้ OH- ซึ่งมีความเข้มข้นเป็ฯสองเท่าของความเข้มข้นเริ่มต้นของ Ba(OH)2 • เริ่มพูด แสดง mascot และข้อความ • เมื่อพูด “เนื่องจากกรดหนึ่งโปรตอน” แสดงตารางเฟดทีละแถว • เมื่อพูด “สำหรับเบสแก่พวก” ปรากฏ bullet ตรงกับเสียงพูด • พูดจบ ปรากฏปุ่ม • เมื่อคลิก ปรากฏPDF หน้า 28

  37. สารละลายกรดอ่อน HA ในน้ำเกิดภาวะสมดุลดังสมการ การคำนวณ pH ของสารละลายกรดอ่อน HA(aq) + H2O(I) H3O+(aq) + A-(aq) สารละลายกรดอ่อน HA ในน้ำเกิดภาวะสมดุล ดังสมการ 2H2O H3O+(aq) + OH-(aq) Kw = 1.0 x 10-14 นอกจากนี้ H3O+ ยังอาจเกิดจากการแตกตัวของน้ำ H3O+ในสารละลายกรด HA จึงเกิดจากการแตกตัวของกรดและการแตกตัวของน้ำ [H3O+] = [H3O+]HA + [H3O+]H20 สำหรับการคำนวณ pH ของสารละลายกรดอ่อน กรดอ่อนแตกตัวให้ (H3O+ ได้น้อย ดังนั้น สารละลายของกรดอ่อน HA ในน้ำจึงประกอบด้วยกรดในรูปที่แตกตัว (H3O+ + A-) และไม่แตกตัว (HA) ถ้าทราบค่า Ka ของกรดอ่อนจะสามารถคำนวณความเข้มข้นที่สมดุลและ pH ของสารละลายของกรดอ่อนได้โดยใช้วิธีเดียวกับสมดุลทั่วไป นอกจากนี้ H3O+ยังอาจเกิดจากการแตกตัวของน้ำ H3O+ ในสารละลายกรด HA จึงเกิดจากการแตตัวของกรดและการแตกตัวของน้ำ โดยทั่วไป H3O+ จากการแตกตัวของกรดจะมากกว่า H3O+ จากการแตกัวของน้ำมาก( ยกเว้นกรณีที่สารละลายเจือจางมากหรือกรดอ่อนมาก) จึงมักไม่คำนึงถึง H3O+ จากการแตกตัวของน้ำ • เริ่มพูด แสดง mascot และข้อความแถวบนสุด • เมื่อพูด “นอกจากนี้ H3O+” แสดงข้อความแถว 2 • เมื่อพูด “H3O+ ในสารละลาย”แสดงข้อความแถว 3+4

  38. [H3O+] [A- ] [HA] การคำนวณ pH ของสารละลายกรดอ่อน ถ้าให้ความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดอ่อน HA เท่ากับ Ca Mและแตกตัวได้ x M HA(aq) + H2O(I) H3O+(aq) + A-(aq) Ka = X2 Ca – x Ka = ความเข้มข้นเริ่มต้น (M) Ca 0.00 0.00 ความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลง (M) -x +x +x แทนค่าความเข้มข้นที่ภาวะลงในนิพจน์ค่าคงที่สมดุล จะได้ ความเข้มข้นสุดท้าย (M) Ca - x x x สมการนี้สามารถจัดให้อยู่ในรูปสมการกำลังสอง (ax2 + bx + c = 0) ยังมีเนื้อหาในสไลด์ถัดไป ถ้าให้ความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดอ่อน HA เท่ากับ Ca Mและแตกตัวได้ x M การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นและความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลของกรดและไอออนต่างๆ เป็นดังนี้ จากนั้นแทนค่าความเข้มข้นที่ภาวะลงในนิพจน์ค่าคงที่สมดุล จะได้ สมการนี้สามารถจัดให้อยู่ในรูปสมการกำลังสอง (ax2 + bx + c = 0) และแก้สมการหาค่า x ได้ แต่การคำนวณหาค่า x จะง่ายขึ้น และถ้าเราพิจารณาจากสมการและใช้วิธีการประมาณ แต่เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวได้น้อย ดังนั้น x จะมีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับความเข้มข้นเริ่มต้นของกรด โดยทั่วไป ถ้า x มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 % ของความเข้มข้นเริ่มต้นของกรด (Ca) อาจถือว่า x มีค่าน้อยกว่า Ca (x << Ca)จึงสมมุติได้ว่า Ca – x  Ca • เริ่มพูด แสดง mascot +ข้อความแถวบน+กรอบทีละแถว • เมื่อพูด “จากนั้นแทนค่า” แสดงข้อความใต้กรอบ ตามด้วยปีกกาและข้อความด้านข้าง • เมื่อพูด “และถ้าเราพิจารณา” กระพริบที่สมการทั้งสอง • เมื่อพูด “แต่เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัว” เอาข้อความใหม่ในสไลด์ถัดไป มาแทนที่

  39. [H3O+] = x =  KaCa = Ka  x2 x2 Ca - x Ca การคำนวณ pH ของสารละลายกรดอ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวได้น้อย ดังนั้น x จะมีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับความเข้มข้นเริ่มต้นของกรด โดยทั่วไป ถ้า x มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 % ของความเข้มข้นเริ่มต้นของกรด (Ca) อาจถือว่า x มีค่าน้อยกว่า Ca(x << Ca) สมมุติได้ว่า Ca – x Ca x2 = KaCa คลิกดูตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของ H3O+, CH3COO-, CH3COOH และ pH ของสารละลายกรดแอซีติก 0.10 คลิกดูตัวอย่างการคำนวณ pH ของสารละลาย HF 0.10 M ถ้าให้ความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดอ่อน HA เท่ากับ Ca Mและแตกตัวได้ x M การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นและความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลของกรดและไอออนต่างๆ เป็นดังนี้ จากนั้นแทนค่าความเข้มข้นที่ภาวะลงในนิพจน์ค่าคงที่สมดุล จะได้ สมการนี้สามารถจัดให้อยู่ในรูปสมการกำลังสอง (ax2 + bx + c = 0) และแก้สมการหาค่า x ได้ แต่การคำนวณหาค่า x จะง่ายขึ้น และถ้าเราพิจารณาจากสมการและใช้วิธีการประมาณ แต่เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวได้น้อย ดังนั้น x จะมีค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับความเข้มข้นเริ่มต้นของกรด โดยทั่วไป ถ้า x มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 % ของความเข้มข้นเริ่มต้นของกรด (Ca) อาจถือว่า x มีค่าน้อยกว่า Ca (x << Ca) จึงสมมุติได้ว่า Ca – x  Ca ในที่นี้มีตัวอย่างการคำนวณเพื่อให้นักศึกษาได้สามารถนำไปศึกษาเพิ่มเติม 2 ตัวอย่าง ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของ H3O+ , CH3COO- , CH3COOH และ pH ของสารละลายกรดแอซีติก 0.10 ตัวอย่างที่ 2 เป็นตัวอย่างการคำนวณ pH ของสารละลาย HF 0.10 M • แสดงย่อหน้าขึ้นมาก • เมื่อพูด “จึงสมมุติได้ว่า” แสดงสมการทั้งหมดขึ้นมา • พูดจบ ปรากฏปุ่ม • เมื่อคลิกปุ่ม 1 ปรากฏPDF หน้า 29-30 • เมื่อคลิกปุ่ม 2 ปรากฏPDF หน้า 31-32

  40. ความเข้มข้นของกรดที่แตกตัว ร้อยละการแตกตัวของกรด = x 100 % ความเข้มข้นเริ่มต้นของกรด ร้อยละการแตกตัวในสารละลายของกรดอ่อน ความแรงของกรดอ่อนบอกได้โดยใช้ค่า Ka ร้อยละการแตกตัว ซึ่งหาได้ดังนี้ กรดที่มีความแรงมากกว่าจะมีร้อยละการแตกตัวสูงกว่ากรดที่มีความแรงน้อย [H3O+] x 100 % ร้อยละการแตกตัวของกรด = Ca ยังมีเนื้อหาในสไลด์ถัดไป ร้อยละการแตกตัวในสารละลายของกรดอ่อน ความแรงของกรดอ่อน นอจากจะบอกได้โดยใช้ค่า Ka ยังอาจพิจารณาได้จากร้อยละการแตกตัว ซึ่งหาได้ดังสมการนี้ (ปรากฏสมการบน) กรดที่มีความแรงมากกว่าจะมีร้อยละการแตกตัวสูงกว่ากรดที่มีความแรงน้อย สำหรับสารละลายกรดหนึ่งโปรตอน HA ซึ่งมีความเข้มข้นของกรดที่แตกตัวจะเท่ากับความเข้มข้นของ H3O+ หรือความเข้มข้นของ A- ที่ภาวะสมดุล ดังนั้นจะได้สมการสำหรับ H3O+ ได้ดังนี้ (ปรากฏสมการล่าง) ซึ่งโดยทั่วไปร้อยละการแตกตัวของกรดอ่อนขึ้นกับชนิดของกรด และมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อ Kaสำหรับกรดอ่อนแต่ละชนิด ร้อยละการแตกตัวจะขึ้นกับความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดนั้น ยิ่งสารละลายกรดอ่อนเจือจางมาก ร้อยละการแตกตัวจะยิ่งมากขึ้น ดังภาพแสดงความสัมพันธ์ของร้อยละการแตกตัวและความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดแอซีติก • เริ่มพูด ปรากฏข้อความตรงกับเสียงพูด • .แสดงสมการตามที่กำหนดในเสียง

  41. ร้อยละการแตกตัวในสารละลายของกรดอ่อนร้อยละการแตกตัวในสารละลายของกรดอ่อน ร้อยละการแตกตัวของกรดอ่อนขึ้นกับชนิดของกรดและมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อ Kaสำหรับกรดอ่อนแต่ละชนิดร้อยละการแตกตัวจะขึ้นกับความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดนั้น ยิ่งสารละลายกรดอ่อนเจือจางมาก ร้อยละการแตกตัวจะยิ่งมากขึ้น รูป ภาพความสัมพันธ์ของร้อยละการแตกตัวและความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดแอซีติก คลิกดูตัวอย่าง ร้อยละการแตกตัวในสารละลายของกรดอ่อน ความแรงของกรดอ่อน นอจากจะบอกได้โดยใช้ค่า Ka ยังอาจพิจารณาได้จากร้อยละการแตกตัว ซึ่งหาได้ดังสมการนี้ (ปรากฏสมการบน) กรดที่มีความแรงมากกว่าจะมีร้อยละการแตกตัวสูงกว่ากรดที่มีความแรงน้อย สำหรับสารละลายกรดหนึ่งโปรตอน HA ซึ่งมีความเข้มข้นของกรดที่แตกตัวจะเท่ากับความเข้มข้นของ H3O+ หรือความเข้มข้นของ A- ที่ภาวะสมดุล ดังนั้นจะได้สมการสำหรับ H3O+ ได้ดังนี้ (ปรากฏสมการล่าง) ซึ่งโดยทั่วไปร้อยละการแตกตัวของกรดอ่อนขึ้นกับชนิดของกรด และมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อ Kaสำหรับกรดอ่อนแต่ละชนิด ร้อยละการแตกตัวจะขึ้นกับความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดนั้น ยิ่งสารละลายกรดอ่อนเจือจางมาก ร้อยละการแตกตัวจะยิ่งมากขึ้น ดังภาพแสดงความสัมพันธ์ของร้อยละการแตกตัวและความเข้มข้นเริ่มต้นของกรดแอซีติก เพื่อเข้าใจมากขึ้น นักศึกษาสามารถศึกษาจากตัวอย่างเพิ่มเติมได้ • เริ่มพูด ปรากฏข้อความตรงกับเสียงพูด • .แสดงสมการตามที่กำหนดในเสียง • พูดจบ ปรากฏปุ่ม • เมื่อคลิก ปรากฏPDF หน้า 35

  42. [H3O+][HCO3-] [H3O+][CO32-] [H2CO3] [HCO3-] = 5.6 x 10-11 Ka 2 = Ka 1 = = 4.3 x 10-7 กรดหลายโปรตอน กรดหลายโปรตอน (polyprotic acids) คือ กรดที่หนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้หลายตัว ถ้าเป็นกรดที่หนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้ 2 ตัวเรียกว่า กรดสองโปรตอน(diprotic acids) ถ้ากรดหนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้ 3 ตัวเรียกว่า กรดสามโปรตอน (triprotic acids) กรดหลายโปรตอนแตกตัวในน้ำได้หลายขั้นจึงมีค่า Kaหลายค่า H2CO3(aq) + H2O(I)H3O+(aq) + HCO3-(aq) H2CO3(aq) + H2O(I) H3O+(aq) + CO32-(aq) กรดหลายโปรตอนมีความสามารถในการให้โปรตอนตัวที่ 2 น้อยกว่าตัวแรกและตัวที่ 3 น้อยกว่าตัวที่ 2 เสมอ Ka 1 > Ka 2 > Ka 3>… ยังมีเนื้อหาในสไลด์ถัดไป กรดหลายโปรตอน หรือ polyprotic acids คือ กรดที่หนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้หลายตัว ถ้าเป็นกรดที่หนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้ 2 ตัวเรียกว่า กรดสองโปรตอนเช่น กรดซัลฟิวริก (H2CO4) กรดคาร์นิก(H2CO3) กรดไฮโดรซัลฟิวริก (H2S) กรดโครมิก(H2CrO4) และกรดออกซาลิก (H2C2O4) เป็นต้น ถ้ากรดหนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้ 3 ตัวเรียกว่า กรดสามโปรตอน เช่น กรดฟอสฟอริก(H3PO4) และ กรดซิทริก (H3C6H5O7) เป็นต้น กรดหลายโปรตอนแตกตัวในน้ำได้หลายขั้นจึงมีค่า Ka หลายค่า เช่น (ปรากฏสมการ 2 แถวขึ้นมา) กรดคาร์บอนิกเป็นกรดสองโปรตอนแตกตัวให้โปรตอนได้ 2 ขั้น (ปรากฏข้อความและสมการสีน้ำตาล) ซึ่งกรดหลายโปรตอนมีความสามารถในการให้โปรตอนตัวที่ 2 น้อยกว่าตัวแรกและตัวที่ 3 น้อยกว่าตัวที่ 2 เสมอ ทั้งนี้ เพราะ (ปรากฏตารางไล่ทีละแถวขึ้นมา) เมื่อกรดให้โปรตอนตัวแรกแล้วจะเกิดเป็นไอออนลบ แรงดึงดูดทางไฟฟ้าสถิตระหว่างโปรตอนและไอออนลบจึงทำให้โปรตอนตัวที่ 2 และ 3 หลุดออกไปได้ยาก ดังตารางแสดงค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของกรดหลายโปรตอนบางชนิด ซึ่งเป็น8 ค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของกรดหลายโปรตอนที่ 25๐C • เริ่มพูด ปรากฏข้อความตรงกับเสียงพูด • .แสดงสมการตามที่กำหนดในเสียง • พูดจบ ปรากฏปุ่ม • เมื่อคลิก ปรากฏPDF หน้า 35

  43. กรดหลายโปรตอน กรดหลายโปรตอน (polyprotic acids) คือ กรดที่หนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้หลายตัว ถ้าเป็นกรดที่หนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้ 2 ตัวเรียกว่า กรดสองโปรตอน(diprotic acids) ถ้ากรดหนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้ 3 ตัวเรียกว่า กรดสามโปรตอน (triprotic acids) ตารางแสดงค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของกรดหลายโปรตอนที่ 25๐C คลิกดูตัวอย่าง กรดหลายโปรตอน หรือ polyprotic acids คือ กรดที่หนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้หลายตัว ถ้าเป็นกรดที่หนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้ 2 ตัวเรียกว่า กรดสองโปรตอนเช่น กรดซัลฟิวริก (H2CO4) กรดคาร์นิก(H2CO3) กรดไฮโดรซัลฟิวริก (H2S) กรดโครมิก(H2CrO4) และกรดออกซาลิก (H2C2O4) เป็นต้น ถ้ากรดหนึ่งโมเลกุลสามารถให้โปรตอนได้ 3 ตัวเรียกว่า กรดสามโปรตอน เช่น กรดฟอสฟอริก(H3PO4) และ กรดซิทริก (H3C6H5O7) เป็นต้น กรดหลายโปรตอนแตกตัวในน้ำได้หลายขั้นจึงมีค่า Ka หลายค่า เช่น (ปรากฏสมการ 2 แถวขึ้นมา) กรดคาร์บอนิกเป็นกรดสองโปรตอนแตกตัวให้โปรตอนได้ 2 ขั้น (ปรากฏข้อความและสมการสีน้ำตาล) ซึ่งกรดหลายโปรตอนมีความสามารถในการให้โปรตอนตัวที่ 2 น้อยกว่าตัวแรกและตัวที่ 3 น้อยกว่าตัวที่ 2 เสมอ ทั้งนี้ เพราะ (ปรากฏตารางไล่ทีละแถวขึ้นมา) เมื่อกรดให้โปรตอนตัวแรกแล้วจะเกิดเป็นไอออนลบ แรงดึงดูดทางไฟฟ้าสถิตระหว่างโปรตอนและไอออนลบจึงทำให้โปรตอนตัวที่ 2 และ 3 หลุดออกไปได้ยาก ดังตารางแสดงค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของกรดหลายโปรตอนบางชนิด ซึ่งเป็น8 ค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของกรดหลายโปรตอนที่ 25๐C เสียงในปุ่มตัวอย่าง.... จากตารางแสดงค่าคงที่สมดุลการแตกตัวของกรดหลายโปรตอนบางชนิด ฉะนั้นการคำนวณค่า pH ของสารละลายกรดหลายโปรตอนจะซับซ้อนกว่าของกรดหนึ่งโปรตอน เนื่องจากจะต้องพิจารณา H3O+จากการแตกตัวของกรดทุกขั้นตอน อย่างไรก็ดี ถ้า Ka1 >> Ka2>>Ka3 >>…H3O+ที่เกิดขึ้นจากการแตกตัวขั้นแรกจะทำให้การแตกตัวในขั้นที่ 2, 3, ..น้อยมากจนอาจสมมติได้ว่า H3O+เกิดจากการแตกตัวขั้นแรกเท่านั้น • เริ่มพูด ปรากฏข้อความตรงกับเสียงพูด • .แสดงสมการตามที่กำหนดในเสียง • พูดจบ ปรากฏปุ่ม • เมื่อคลิก ปรากฏPDF ตัวอย่างที่ 3 – 23

  44. การคำนวณ pH ของสารลายเบสอ่อน การคำนวณที่เกี่ยวกบสมดุลการแตกตัวของเบสอ่อนทำได้ในลักษณะเดียวกับสมดุลการแตกตัวของกรดอ่อน ตัวอย่าง จงคำนวณ pH ของสารละลายแอมโมเนีย (NH3) 0.20 M คลิกดูวิธีทำคำนวณ >> 1 l 2 l 3 l 4 l 5 l 6  ขั้นที่ 1 เขียนและดุลสมการแสดงปฏิกิริยา NH3(aq) + H2O(I) NH4+(aq) + OH-(aq) Kb = 1.8 x 10-5 การคำนวณที่เกี่ยวกบสมดุลการแตกตัวของเบสอ่อนทำได้ในลักษณะเดียวกับสมดุลการแตกตัวของกรดอ่อนเรามาดูกันในตัวอย่าง เป็นการคำนวณ pH ของสารละลายแอมโมเนีย (NH3) 0.20 M วิธีการคำนวณมีทั้งสิ้น 6 ขั้นตอนด้วยกัน ให้นักศึกษาเข้าไปดูทีละขั้นตอนตามลำดับ เสียงปุ่ม 1....ขั้นที่ 1 เขียนและดุลสมการแสดงปฏิกิริยา เสียงปุ่ม 2.... ขั้นที่ 2 หาความเข้มข้นเริ่มต้น ความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลง และความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลของสารต่างๆ ในสารละลาย เสียงปุ่ม 3.... ขั้นที่ 3 แทนค่าความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลลงในนิพจน์ค่าคงที่สมดุล เสียงปุ่ม 4.... ขั้นที่ 4 แก้สมการหาค่าความเข้มข้นที่ต้องการ เสียงปุ่ม 5.... ขั้นที่ 5 ตรวจสอบข้อสมมุติ เสียงปุ่ม 6.... ขั้นที่ 6 คำนวณ pH และ pOH • เริ่มพูด ปรากฏ mascot + ข้อความตรงกับเสียงพูด • .เมื่อพูด “มีทั้งสิ้น 6 ขั้นตอน” ปรากฏปุ่มและคำสั่ง • เมื่อคลิก ปรากฏ pop text + sound • กรณีที่คลิกขั้นอื่น ให้เปลี่ยนเป็นเนื้อหาปุ่มนั้นทันที

  45. = 1.8 x 10-5 = 1.8 x 10-5 (1.8 x 10-5) x 0.20 = 1.9 x 10-3 M = 1.8 x 10-5 Kb = [OH-] = x = [NH4+][OH-] x2 x2 0.20 - x [NH3] 0.20 การคำนวณ pH ของสารลายเบสอ่อน การคำนวณที่เกี่ยวกบสมดุลการแตกตัวของเบสอ่อนทำได้ในลักษณะเดียวกับสมดุลการแตกตัวของกรดอ่อน ตัวอย่าง จงคำนวณ pH ของสารละลายแอมโมเนีย (NH3) 0.20 M คลิกดูวิธีทำคำนวณ >> 1 l 2 l 3 l 4 l 5 l 6  ขั้นที่ 2 หาความเข้มข้นเริ่มต้น ความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลง และความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลของสารต่างๆ ในสารละลาย NH3(aq) + H2O(I) NH4+(aq) + OH-(aq) ความเข้มข้นเริ่มต้น (M) 0.20 0 0 ความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลง (M) -x +x +x ความเข้มข้นที่ภาวะสมดุล (M) (0.20 – x) x x คลิกดูวิธีทำคำนวณ >> 1 l 2 l 3 l 4 l 5 l 6  ขั้นที่ 3 แทนค่าความเข้มข้นที่ภาวะสมดุลลงในนิพจน์ค่าคงที่สมดุล คลิกดูวิธีทำคำนวณ >> 1 l 2 l 3 l 4 l 5 l 6  ขั้นที่ 4 แก้สมการหาค่าความเข้มข้นที่ต้องการ สมมุติว่า 0.20 – x  0.20

  46. การคำนวณ pH ของสารลายเบสอ่อน การคำนวณที่เกี่ยวกบสมดุลการแตกตัวของเบสอ่อนทำได้ในลักษณะเดียวกับสมดุลการแตกตัวของกรดอ่อน ตัวอย่าง จงคำนวณ pH ของสารละลายแอมโมเนีย (NH3) 0.20 M คลิกดูวิธีทำคำนวณ >> 1 l2l 3 l 4 l 5 l 6  ขั้นที่ 5 ตรวจสอบข้อสมมุติ 0.20 – x = 0.20 – 0.0019 = 0.1981  0.20 เนื่องจากผลลัพธ์จะต้องมีเลขนัยสำคัญ 2 ตัวเช่นเดียวกับจำนวนเลข 0.20 และ 1.9 x 10-3ดังนั้น 0.20 – x คลิกดูวิธีทำคำนวณ >> 1 l 2 l 3 l 4 l 5 l 6  ขั้นที่ 6 คำนวณ pH และ pOH pOH = -log(1.9 x 10-3) = 2.72 pH = 14.00 – pOH = 14.00 – 2.72 = 11.28

  47. Ka = Kb = Ka = = = 5.6 x 10-10 Kw 1.0 x 10-14 Kw Kw Ka Kb 1.8 x 10-5 Kb ความสัมพันธ์ระหว่าง Kaและ Kb Kaใช้บอกความแรงของกรด และ Kbใช้บอกความรุนแรงของเบส สำหรับคู่กรด – เบส ค่าคงที่สมดุลทั้งสองนี้มีความสัมพันธ์กันอย่างไร? สำหรับคู่กรด – เบสสามารถเขียนได้ดังสมการ KaKb = Kw และ หรืออาจเขียนได้ดังนี้ ตัวอย่าง จะเห็นได้ว่า ถ้ากรดยิ่งมีความแรงมาก (Kaมาก) คู่เบสจะยิ่งมีความแรงน้อย (Kbน้อย) ถ้าเบสยิ่งมีความแรงมาก (Kbมาก) คู่เบสจะยิ่งมีความแรงน้อย (Kaน้อย) ความสัมพันธ์ระหว่าง Ka และ Kb ดังได้ทราบแล้วว่า Ka ใช้บอกความแรงของกรด และ Kb ใช้บอกความรุนแรงของเบส สำหรับคู่กรด – เบส ค่าคงที่สมดุลทั้งสองนี้มีความสัมพันธ์กันอย่างไร? สำหรับคู่กรด – เบสหรืออาจเขียนในรูป จะเห็นได้ว่าถ้ากรดยิ่งมีความแรงมาก (Ka มาก) คู่เบสจะยิ่งมีความแรงน้อย (Kb น้อย) ถ้าเบสยิ่งมีความแรงมาก (Kb มาก) คู่เบสจะยิ่งมีความแรงน้อย (Ka น้อย) จากสมการที่ (3-3) สามารถคำนวณ Ka ของคู่กรด (NH4+) ของ NH3 ได้โดยใช้ค่า Kb ของ NH3 จากตารางที่ 3 – 7 ดังนี้ • เริ่มพูด ปรากฏ mascot + ข้อความตรงกับเสียงพูด

  48. Kb2 = = =2.3x 10-8 Kw 1.0 x 10-14 Ka1 4.3 x 10-7 สมบัติกรด – เบสของเกลือ เมื่อกรดทำปฏิกิริยากับเบสจะเกิดสารประกอบไอออนิกซึ่งเรียกว่า เกลือ (salt) เมื่อนำเกลือไปละลายในน้ำให้เป็นสารละลายเจือจาง เกลือจะเกิดการแตกตัวอย่างสมบูรณ์ให้ไอออนบวกกับไออนลบ ไอออนเหล่านี้จำนวนมากสามารถเกิดปฏิกิริยากับน้ำให้ H3O+หรือ OH-ซึ่งจะมีผลต่อ pH ของสารละลาย ปฏิกิริยาระหว่างไอออนกับน้ำนี้ เรียกว่า ปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยน้ำ หรือ ไฮโดรลิซิส (hydrolysis) ไอออนลบของกรดอ่อน HA มีสมบัติเป็นเบส เนื่องจาก A-ทำปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสให้ OH- HCO3-(aq) + H2O(I) H3O+(aq) + CO32-(aq) Ka2 = 5.6 x 10-11 HCO3-(aq) + H2O(I) H2CO3(aq) + OH-(aq) เราดูสมบัติกรด – เบสของเกลือกัน เมื่อกรดทำปฏิกิริยากับเบสจะเกิดสารประกอบไอออนิกซึ่งเรียกว่า เกลือ เมื่อนำเกลือไปละลายในน้ำให้เป็นสารละลายเจือจาง เกลือจะเกิดการแตกตัวอย่างสมบูรณ์ให้ไอออนบวกกับไออนลบ ไอออนเหล่านี้จำนวนมากสามารถเกิดปฏิกิริยากับน้ำให้ H3O+หรือ OH-ซึ่งจะมีผลต่อ pH ของสารละลาย ปฏิกิริยาระหว่างไอออนกับน้ำนี้ เรียกว่า ปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยน้ำ หรือ ไฮโดรลิซิส ไอออนลบของกรดอ่อน HA มีสมบัติเป็นเบส เนื่องจาก A-ทำปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสให้ OH- ไอออนลบของกรดแก่หนึ่งโปรตอน (CI- , Br-, I-, CIO4-, NO3-) เป็นเบสที่อ่อนมาก ไอออนเหล่านี้ไม่เกิดไฮโดรลิซิส จึงไม่มีผลต่อ pH ของสารละลาย ไอออนลบของกรดกลายโปรตอน เช่น HCO3-เป็นได้ทั้งตัวให้โปรตอน (กรด) และตัวรับโปรตอน (เบส) สารละลายของไอออนลบของกรดหลายโปรตอนในน้ำจึงอาจเป็นกรดหรือเบส ซึ่งพิจารณาได้จากค่า Kaและ Kbของไอออนนั้น • เริ่มพูด ปรากฏ mascot + ข้อความตรงกับเสียงพูด

  49. สมบัติกรด – เบสของเกลือ • ไอออนบวกของโลหะแอลคาไล (Li+, Na+, K+, Rb+, Cs+) และโลหะแอลคาไลน์เอิร์ทบางชนิด (Ca2+, Sr2+, Ba2+) ไม่มีสมบัติเป็นกรดหรือเบส เนื่องจากไม่เกิดไฮโดรลิซิสในน้ำ ไอออนเหล่านี้จึงไม่มีผลต่อ pH • ไอออนบวกของโลหะอื่นๆ ที่มีขนาดเล็กและมีประจุมาก (เช่น AI3+, Cr3+, Fe3+, Bi3+และไอออนของโลหะแทรนซิชันอื่นๆ ในน้ำให้สารละลายที่เป็นกรด • ไอออนบวกของเบสอ่อน เช่น NH4+ซึ่งเป็นคู่กรดของเบสอ่อน NH3 จะเกิดไฮโดรลิซิสให้ H3O+ดังนั้นสารละลาย NH4+ในน้ำจึงเป็นกรด NH4-(aq) + H2O(I) H3O+(aq) + NH3(aq) pH ของสารละลายเกลือขึ้นกับไอออนบวกและไอออนลบที่เป็นองค์ประกอบ เนื่องจาก Kb ของ HCO3-มีค่ามากกว่า Ka แสดงว่า HCO3-ทำให้เกิด OH- มากกว่า H3O+ สารละลาย HCO3-ในน้ำจึงเป็นเบส ไอออนบวกของโลหะแอลคาไล (Li+, Na+, K+, Rb+, Cs+) และโลหะแอลคาไลน์เอิร์ทบางชนิด (Ca2+, Sr2+, Ba2+) ไม่มีสมบัติเป็นกรดหรือเบส เนื่องจากไม่เกิดไฮโดรลิซิสในน้ำ ไอออนเหล่านี้จึงไม่มีผลต่อ pH ไอออนบวกของโลหะอื่นๆ ที่มีขนาดเล็กและมีประจุมาก (เช่น AI3+, Cr3+, Fe3+, Bi3+และไอออนของโลหะแทรนซิชันอื่นๆ ในน้ำให้สารละลายที่เป็นกรด ไอออนบวกของเบสอ่อน เช่น NH4+ ซึ่งเป็นคู่กรดของเบสอ่อน NH3จะเกิดไฮโดรลิซิสให้ H3O+ ดังนั้นสารละลาย NH4+ในน้ำจึงเป็นกรด pH ของสารละลายเกลือขึ้นกับไอออนบวกและไอออนลบที่เป็นองค์ประกอบ การทำนายว่าสารละลายของเกลือเป็นกรด เบส หรือกลาง จึงพิจารณาจากความแรงสัมพัทธ์ของกรดและเบสที่ทำให้เกิดเกลือนั้น • เริ่มพูด ปรากฏ mascot + ข้อความตรงกับเสียงพูด • แสดงภาพเกลือ แล้วปรากฏภาพกลมๆ เคลื่อนไหวมารวม อีกภาพเป็นกำลังวาดเป็นเส้นขึ้นมา วนไปเรื่อยๆ ขณะเสียงพูด

  50. สมบัติกรด – เบสของเกลือ สมบัติกรดและเบสของกลือ สามารถแบ่งออกเป็นกรณีย่อยๆ ดังนี้ เกลือที่เกิดจากเบสแก่และกรดแก่  เกลือที่เกิดจากเบสแก่และกรดอ่อน เกลือที่เกิดจากเบสอ่อนและกรดอ่อน โซเดียมคลอไรด์ (NaCI) เป็นเกลือที่เกิดจากเบสแก่ (NaOH) และกรดแก่ (HCI) เมื่อนำมาละลายในน้ำให้เป็นสารละลายเจือจาง จะแตกตัวอย่างสมบูรณ์ดังสมการ CH3COONa(aq)  Na+(aq) + CH3COO-(aq) NH4-(aq) + H2O(I) H3O+(aq) + NH3(aq) สารละลาย NaCI ในน้ำจึงเป็นกลาง (pH=7) คลิกกรณีที่ต้องการศึกษา สมบัติกรดและเบสของกลือ สามารถแบ่งออกเป็นกรณีย่อยๆ ได้ดังนี้คือ เกลือที่เกิดจากเบสแก่และกรดแก่, เกลือที่เกิดขากเบสแก่และกรดอ่อน เกลือที่เกิดจากเบสอ่อนและกรดอ่อน เราจะไปศึกษารายละเอียดของแต่ละกรณีในหน้าต่อไป... เสียงในปุ่มเกลือที่เกิดจากเบสแก่และกรดแก่.... กรณีเกลือที่เกิดจากเบสแก่และกรดแก่ โซเดียมคลอไรด์ (NaCI) เป็นเกลือที่เกิดจากเบสแก่ (NaOH) และกรดแก่ (HCI) เมื่อนำมาละลายในน้ำให้เป็นสารละลายเจือจาง จะแตกตัวอย่างสมบูรณ์ดังสมการ (ปรากฏสมการแถวบนก่อนขึ้นมา) Na+ ไม่มีสมบัติเป็นกรดและเบส ส่วน CI- เป็นคู่เบสของกรดแก่ ไม่สามารถรับโปรตอนได้ จึงถือได้ทั้งไอออนบวกและไอออนลบไม่เกิดไฮโดรลิซิส สารละลาย NaCI ในน้ำจึงเป็นกลาง หรือมี pH=7 (ปรากฏสมการแถวล่างก่อนขึ้นมา) • เริ่มพูด ปรากฏ mascot + ปุ่มตรงกับเสียงพูด • เมื่อคลิกปุ่มใด แสดงข้อความและเสียง ขึ้นมา • หากเลือกปุ่มอื่น ให้เปลี่ยน pop up ใหม่ทันที • รายละเอียดของสองปุ่มล่าง อยู่ในสไลด์ถัดไป

More Related