580 likes | 818 Views
นโยบายการเงินและ การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 30 มิถุนายน 2554. หัวข้อ การบรรยาย. I. ความเชื่อมโยงนโยบายการเงินของประเทศกับของโลก II. ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ
E N D
นโยบายการเงินและ การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 30 มิถุนายน 2554
หัวข้อการบรรยาย • I. ความเชื่อมโยงนโยบายการเงินของประเทศกับของโลก • II. ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ • III. ปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมไทย
ความเชื่อมโยงนโยบายการเงินของประเทศกับของโลกความเชื่อมโยงนโยบายการเงินของประเทศกับของโลก Monetary Policy
1.1 นโยบายการเงิน? Monetary Policy
วัตถุประสงค์ของนโยบายการเงิน • เสถียรภาพของระดับราคา Inflation Targeting • อัตราการว่างงานต่ำ • การขยายตัวของเศรษฐกิจ • เสถียรภาพของอัตราดอกเบี้ย • เสถียรภาพของค่าเงิน Managed Float System
เครื่องมือของนโยบายการเงินเครื่องมือของนโยบายการเงิน • การซื้อขายพันธบัตร (OMO) • ตลาดซื้อคืนพันธบัตร (Repurchase Market) : RP-1 Day • การซื้อขายเงินตราต่างประเทศ : Spot, Forwards, Swaps • การซื้อลด (discount rate) คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.)ของธนาคารแห่งประเทศไทยรับผิดชอบในการกำหนดทิศทางนโยบายการเงิน โดยจะจัดการประชุมทุก 6 สัปดาห์
ความสัมพันธ์ระหว่างฐานเงินและปริมาณเงินความสัมพันธ์ระหว่างฐานเงินและปริมาณเงิน Multiplier Effect Currency Reserves Monetary Base (MB) Money Stock Currency Deposits MS = mm*MB
ฐานเงิน และ ปริมาณเงิน
Functions of Money : • Medium of exchange • Store of value • Unit of account Demand for Money : Keynes’s 3 motives for holding money • The transaction motive M1 • The precautionary motive M1 • The speculative motive M2 Holding more money means giving up return it could be earned by holding some other assets Functions of Money ant Demand for Money _ MV = PY
Example _ Example: MV = PY 20,000*10 = 50*4,000 ถ้า BoT เพิ่ม M 10% จาก 20,000 เป็น 22,000 22,000*10 = P=? * 4,000 >> P=55 22,000*10 = 55*4,000 % Change in P = (55-50)/50*100 = 10% หรือกล่าวได้ว่าราคาส้มจะเพิ่มขึ้น 10% ตามปริมาณเงินที่เพิ่มขึ้น 10% MV = PY M = Money Supply V = Velocity P = Price Y = Quantity ตัวอย่างสมมติให้ เศรษฐกิจของประเทศหนึ่งมีส้มขายทั้งหมด 4000 กิโลกรัม (Y) หากประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ซึ่งหมายถึงปริมาณเงินเพิ่มขึ้น (M ) แต่ปริมาณส้มในตลาดเท่าเดิม กล่าวคือความต้องการซื้อเพิ่มขึ้น ขณะที่ความต้องการขายเท่าเดิม จะส่งผลให้ราคาส้มเพิ่มขึ้น (P )
นโยบายการเงินเพื่อควบคุมปริมาณเงินนโยบายการเงินเพื่อควบคุมปริมาณเงิน Note: Bank of Thailand has employed inflation targeting on core inflation with in these bands
Linkage National Bank Commercial Banks Private Sectors Credits Monetary Policy
1.2 การปฏิรูปการเงินโลกและผลกระทบต่อภาคการเงินไทย Financial Sector Reform
2008-2009 Financial Crisis Low interest rates and high growth era High liquidity within global financial markets Subprime mortgage market meltdown Carry trade boom Yen depreciation Credit markets squeezed Liquidity evaporated (Risk averse mentality) Central banks inject funds to bring down short-term interest rate ABS prices crashed Carry trade reversal Yen appreciation World equity and risky assets markets sell-off Impact on corporate and LBO loans Institutional investors suffered heavy losses Incl. banks
Major Causes of crisis • Global Imbalance: surplus countries poured funds into US stocks and other assets • Financial Deregulation: the role of shadow banking & rating agencies in promoting securitization • Too Accommodative Monetary Policy by • FED (Great Moderation): Fed maintained ultra-low interest rates for too long
Everyone contributes to financial crisis • Loan originators: fee driven business model • 100% non-recourse mortgage • Teaser rate and Balloon payment • Negative amortization • Liar loans • Investment banks: shadow banking • Rating agencies: conflict of interest • Regulators: lax supervision
New Regulations after the Crisis Basel III Dodd-Frank Bank Levy
Basel เกณฑ์มาตรฐานสากลที่ได้ถูกจัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มประเทศ G-10(ซึ่งต่อมาคือกลุ่ม G-20 ในปัจจุบัน) เพื่อกำหนดมาตรฐานการกำกับดูแลสถาบันการเงินที่เป็นสากล เพื่อความมั่นคงและความเสมอภาคในการแข่งขันของสถาบันการเงินต่างๆ ทั่วโลก เกณฑ์การกำกับดูแลเงินกองทุนเรียกว่า Basel Capital Accord หรือBasel คือเกณฑ์การกำหนดให้สถาบันการเงินมีเงินกองทุนเพียงพอ ที่จะรองรับความเสี่ยง หรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น
ผลกระทบจากเกณฑ์กำกับสถาบันการเงิน: Basel I Basel Capital Accord of 1988 • เน้นการรองรับความเสี่ยงจากเครดิต (credit risk) • เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 8 (RWA) • น้ำหนักความเสี่ยง : 0% 20% 50% 100% • การจัดชั้นสินทรัพย์และการกันสำรองเผื่อหนี้สูญ: ระยะเวลา ค้างชำระ 1996 Modified: เพิ่มการรองรับความเสี่ยงการจากเปลี่ยนแปลงของราคา (Market risk)
เกณฑ์กำกับสถาบันการเงิน: Basel II(2004) • 3 Pillars: เพื่อรองรับความเสี่ยงทุกประเภท • เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง • (Minimum Capital Requirement): 8% • กระบวนการสอบทานระบบกำกับภายใน • (Supervisory Review Process) • วินัยทางการตลาด (Market Discipline) • ระดับของน้ำหนักความเสี่ยง: สินเชื่อปกติ สินเชื่อจัดชั้น • สินเชื่อธุรกิจ: 100% 150% • สินเชื่อ SME: 75% 150% • สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย: 35% 100%
วิกฤตการเงินโลกล่าสุดกับการก้าวไปสู่ Basel III (2011) • วิกฤตการเงินและเศรษฐกิจในปี 2008-2009 • เศรษฐกิจทั่วโลกถดถอย • ความเชื่อมั่นของภาคเอกชนที่มีต่อธนาคารลดลง • ธนาคารพาณิชย์ทั่วโลกเข้มงวดและระวังมากในการปล่อยสินเชื่อ • ความจำเป็นต้องปฏิรูปเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบธนาคารพาณิชย์ • Basel III
Basel III กับการปฏิรูปครั้งใหม่ • ปรับเพิ่มความเข้มคุณภาพของ Tier 1 capital: equity & retained earning • เพิ่มสัดส่วน Core Tier 1 เป็น 7%เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่ 4.5% (เพิ่มจากร้อยละ 2.0 ในปัจจุบัน) • เงินทุนสำรองส่วนเพิ่ม (buffer • capital) อีก 2.5% (Counter pro-cyclicality) • Liquidity Coverage Ratio: LCR (2015) easy-to-sell assets for 30-day credit squeeze • ลดปัญหา Pro-cyclicality ใน Basel II: buffer capital, forward looking provision, etc. • Surcharge for SIFs on top of Basel III: ranging from 1.0 – 2.5% based on level of importance and complicated
Basel IIITimeline ได้มีกำหนดช่วงเวลาในการปรับตัวของธนาคาร โดยกำหนดให้ธนาคารต้องเพิ่มทุนจนถึงสัดส่วนขั้นต่ำ ภายในมกราคม 2013 และจนถึง buffer ratio ภายในมกราคม 2019
Basel III Macroeconomic Impact • Medium-term impact on GDP growth is within the range of • −0.05 to −0.1percent per year • Bank lending spreads increase as banks pass a rise in bank funding costs, from higher capital requirements, to their customers
New Regulations after the Crisis Basel III Dodd-Frank Bank Levy
Dodd-Frank(July 2010) • แก้ไขปัญหา Too Big to Fail • ข้อห้ามการซื้อขายตราสารทางการเงินเพื่อกิจการธนาคาร (Volcker rule: proprietary trading) • ปรับปรุงกระบวนการออกตราสารประเภท Asset Backed Securities • SEC ปรับปรุงการกำกับ Credit Rating Agencies
New Regulations after the Crisis Basel III Dodd-Frank Bank Levy
Bank levy เป็นแนวความคิดพูดถึงอย่างมากหลังวิกฤตเศรษฐกิจที่ผ่านมา Bank Levy คือ ภาษีที่เก็บจากสถาบันการเงิน เพื่อใช้เป็นเงินค้ำประกัน ในกรณีที่ภาครัฐจำเป็นต้องให้ความช่วยเหลือทางการเงินในอนาคตเมื่อประสบปัญหา เพื่อไม่ให้ภาระดังกล่าวเป็นของประชาชน ผู้จ่ายภาษี Bank Levy Bank Tax Financial Stability Contribution
Bank levy: กรณีประเทศอังกฤษ ประเทศอังกฤษได้มีมาตรการเรียกเก็บภาษีธนาคาร เพื่อเป็นหลักประกัน (Bank Levy) โดยอัตราภาษีจะเปลี่ยนไปตามช่วงต่างๆดังนี้ 1 ม.ค. 2554 – 28 ก.พ. 2554 0.05% สำหรับหนี้สินที่ระยะสั้น และ 0.025% สำหรับหนี้สินและเงินกองทุนได้ระยะยาว 1 มี.ค. 2554 – 30 เม.ย. 2554 0.1% สำหรับหนี้สินที่ระยะสั้น และ 0.05% สำหรับหนี้สินและเงินกองทุนได้ระยะยาว 1 พ.ค. 2554 – 31 ธ.ค. 2554 0.075% สำหรับหนี้สินที่ระยะสั้น และ 0.0375% สำหรับหนี้สินและเงินกองทุนได้ระยะยาว ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2555เป็นต้นไป 0.078% สำหรับหนี้สินที่ระยะสั้น และ 0.039% สำหรับหนี้สินและเงินกองทุนได้ระยะยาว โดยมีการคาดการณ์ว่าภาษีธนาคารดังกล่าวจะเพิ่มรายได้ให้แก่รัฐบาลอังกฤษถึง 1.6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ (1 หมื่นล้านปอนด์) ภายใน 5 ปี
การปฏิรูปการเงินโลกและผลกระทบต่อไทยการปฏิรูปการเงินโลกและผลกระทบต่อไทย • Basel IIIจะทำให้ธนาคารพาณิชย์ไทยเข้าสู่มาตรฐานสากลมากขึ้น ซึ่งเป็นการเพิ่มขีดความสามารถของสถาบันการเงินของไทย • อย่างไรก็ตาม การปรับใช้มาตรการดังกล่าวต้องใช้เวลา เนื่องจาก • ธนาคารพาณิชย์ไทยยังคงอยู่ในระหว่างการปรับใช้ Basel II • Basel III ได้เพิ่มความเข้มงวดของกฎระเบียบมากขึ้น
1.3 สถาบันการเงินไทย Thai Financial Sector
เงินฝากขยายตัวต่อเนื่องเงินฝากขยายตัวต่อเนื่อง เงินฝากขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง จากการแข่งขันระดมเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ที่เพิ่มขึ้น เพื่อรองรับการขยายตัวของสินเชื่อ และเพื่อล็อกต้นทุนของธนาคารพาณิชย์จากอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
สินเชื่อขยายตัวดีขึ้นมากจากช่วงวิกฤตสินเชื่อขยายตัวดีขึ้นมากจากช่วงวิกฤต สินเชื่อขยายตัวเร่งขึ้นชัดเจน ทั้งสินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อผู้บริโภคตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ
สินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีสัดส่วนสูงถึงกว่าร้อยละ 43 ของสินเชื่อธุรกิจ ขยายตัวดีขึ้นต่อเนื่อง หลังการหดตัวในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ
สินเชื่อผู้บริโภค สินเชื่อรถยนต์ซึ่งมีสัดส่วนกว่าร้อยละ 22 ของสินเชื่อผู้บริโภค ขยายตัวเร่งขึ้นมากสะท้อนอุตสาหกรรมรถยนต์ที่ขยายตัวดีต่อเนื่อง แม้จะชะลอลงชั่วคราวในปัจจุบันจากผลกระทบของสึนามิในญี่ปุ่น หมดอายุมาตรการยกเลิกค่าธรรมเนียมการโอน 30 มิ.ย. 53
เสถียรภาพสถาบันการเงินไทยอยู่ในเกณฑ์ดีเสถียรภาพสถาบันการเงินไทยอยู่ในเกณฑ์ดี เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (CAR) อยู่ในระดับสูงถึงร้อยละ 16.2 ซึ่งสูงกว่าที่ ธปท. กำหนดที่ร้อยละ 8.5 Net NPL อยู่ในระดับต่ำที่ร้อยละ 1.7 ของสินเชื่อรวม ซึงต่ำกว่าช่วงวิกฤตปี 2540 ที่สูงถึงกว่าร้อยละ 50
อัตราดอกเบี้ยธนาคารมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอัตราดอกเบี้ยธนาคารมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ยธนาคารที่มีแนวโน้มสูงขึ้นต่อเนื่อง ตามการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย ส่งผลให้ต้นทุนในการกู้ยืมของภาคเอกชนเพิ่มขึ้น
II. ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ Industrial Sector
โครงสร้างเศรษฐกิจไทยด้านอุปทาน (Supply Side) สัดส่วน GDP ภาคอุตสาหกรรมต่อ Real GDP ตั้งแต่ปี 2543-2553 พันล้านบาท 40.8% 36.4% 40.1% 36.8% 38.7% 39.2% 38.0% 38.9% 39.6% 36.2% 38.6% ที่มา: NESDB
สัดส่วนการส่งออกปี 2553 มูลค่าการส่งออกทั้งปี 1.78 แสนล้านดอลลาร์สรอ. ประเภทสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก 14.6% 6.8% 13.7% 49.7% 11.0% 76.9% 5.3% 22.0% อุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมเกษตร อิเล็กทรอนิกส์ เกษตรกรรม ยานพาหนะ อื่นๆ สินค้าแร่ เชื้อเพลิง