400 likes | 929 Views
สิทธิและสวัสดิการสังคม ของ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. โดย พารื่น นิตยสุทธิ์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ. สถานการณ์ปัญหาสังคมไทย. เด็ก. ถูกทอดทิ้ง ถูกละเมิดทางเพศ ถูกใช้ความรุนแรง ขาดความอบอุ่น เลี้ยงดูไม่เหมาะสม เป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ สุขภาพอนามัย.
E N D
สิทธิและสวัสดิการสังคมสิทธิและสวัสดิการสังคม ของ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดย พารื่น นิตยสุทธิ์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
สถานการณ์ปัญหาสังคมไทยสถานการณ์ปัญหาสังคมไทย เด็ก ถูกทอดทิ้ง ถูกละเมิดทางเพศ ถูกใช้ความรุนแรง ขาดความอบอุ่น เลี้ยงดูไม่เหมาะสม เป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ สุขภาพอนามัย
สถานการณ์ปัญหาสังคมไทยสถานการณ์ปัญหาสังคมไทย เยาวชน ขาดจุดมุ่งหมายในการดำเนินชีวิต ส่วนใหญ่ขาดวินัยการเป็นพลเมืองดี ขาดจิตสำนึกสาธารณะ บริโภคนิยม ประพฤติตนไม่เหมาะสม (ติดยาเสพติด เสพสื่อลามก เที่ยวกลางคืน ติดการพนัน-เกม ใช้ความรุนแรง ก่ออาชญากรรม มีเพศสัมพันธ์และตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ทำแท้ง) **** เยาวชน :ไม่เคยทำบุญตักบาตร 45% ไม่เคยฟังเทศน์ 65%
สถานการณ์ปัญหาสังคมไทยสถานการณ์ปัญหาสังคมไทย ปัญหาครอบครัว • หย่าร้าง ใช้ความรุนแรงในครอบครัว ปัญหาทางจิต • อัตราการจดทะเบียนสมรสลดลง หย่าร้างเพิ่มขึ้น • พ่อแม่ติดสิ่งเสพติด มีผลต่อเด็กในครรภ์ • ไม่มีเวลาให้ลูกเนื่องจากต้องทำงาน
สถานการณ์ปัญหาสังคมไทยสถานการณ์ปัญหาสังคมไทย ปัญหาความยากจน ลงทะเบียนความยากจน ส่วนใหญ่มีปัญหาหนี้สิน 2.28 ล้านคน (ติดหนี้กองทุนหมู่บ้าน 29.12% หนี้สินนอกระบบ 20.37% หนี้ ธกส. 20.97% หนี้ ธอส. 0.94%) สาเหตุสำคัญ : เล่นการพนัน (ทั้งผิด+ถูกกฎหมาย) (เฉลี่ยรายจ่ายด้านการพนัน 8,430 - 9,763 บาท/คน/ปี หรือ 10.4 - 12.0% ของรายได้)
สถานการณ์ปัญหาสังคมไทยสถานการณ์ปัญหาสังคมไทย สตรี สิทธิและความเสมอภาค ถูกละเมิดทางเพศ เป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ ประพฤติตนไม่เหมาะสม
สถานการณ์ปัญหาสังคมไทยสถานการณ์ปัญหาสังคมไทย วัยทำงาน คนไทยวัยทำงาน มีนิสัยฟุ่มเฟือย ติดอบายมุข สิ่งเสพติด ส่งผลให้เกิดปัญหาหนี้สินเรื้อรัง และปัญหาสุขภาพ
สถานการณ์ปัญหาสังคมไทยสถานการณ์ปัญหาสังคมไทย ผู้สูงอายุ • ปัจจุบันมี 7.49 ล้านคน จากประชากร 62.5 ล้าน คน (11.97%) • สุขภาพอนามัย เจ็บป่วยเรื้อรัง ช่วยตัวเองไม่ได้ • ขาดการเรียนรู้ที่เหมาะสม • ถูกทอดทิ้ง ไม่มีงานทำ
สถานการณ์ปัญหาสังคมไทยสถานการณ์ปัญหาสังคมไทย ผู้พิการ • ปัจจุบันมี 1.26 ล้านคน • ขาดการเข้าถึงสิทธิในการรับบริการจากรัฐอย่าง ทั่วถึง • ขาดสิ่งอำนวยความสะดวกและ • สาธารณูปโภคพื้นฐานที่เหมาะสม • ขาดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
สถานการณ์ปัญหาสังคมไทยสถานการณ์ปัญหาสังคมไทย สรุปสาเหตุต้นตอที่สำคัญ • วัฒนธรรมและสื่อไร้พรมแดน • ศีลธรรม+จริยธรรม ของคนในสังคมตกต่ำ • บูชาวัตถุ
มาตรา 55 มาตรา 54 รู้จัก “สิทธิ” ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 53 บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ บุคคลวิกลจริตย่อมได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ ย่อมมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
มาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม โดยมีประเด็นหลัก ที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการของ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ดังนี้ - คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวมทั้งต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเองได้
สวัสดิการสังคม คือ ? • การป้องกัน การแก้ไขปัญหา การพัฒนา และการส่งเสริมความมั่นคงทางสังคม • มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้ • เป็นธรรมและตามมาตรฐาน • คำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิที่ประชาชนจะต้องได้รับ • การมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการสังคม
ผู้รับบริการทางสังคม บุคคลหรือกลุ่มบุคคล ซึ่งอยู่ในสภาวะยากลำบาก หรือที่จำต้องได้รับความช่วยเหลือ เช่น เด็กเยาวชน คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ถูกละเมิดทางเพศ หรือกลุ่มบุคคลอื่น ตามที่คณะกรรมการกำหนด
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. 1. เด็กและเยาวชน เป็นการดำเนินงานตาม พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 มี การจัดสวัสดิการช่วยเหลือทางสังคมแก่เด็กและเยาวชนที่พึ่งให้ การสงเคราะห์ 4 ด้าน (1) การอุปการะเลี้ยงดู อบรม ฝึกอาชีพในสถาบัน ซึ่ง กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค รวม 107 แห่ง (2) การช่วยเหลือเด็กในครอบครัวและชุมชน จ่ายเงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน รายละ 1,000 บาท แต่ไม่เกิน 3,000 บาท จ่ายไม่เกิน 3 ครั้ง/ปี
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. การหาครอบครัวทดแทนชั่วคราวแบบ “ครอบครัว อุปถัมภ์” และหาครอบครัวทดแทนแบบถาวร โดยการ “รับบุตร บุญธรรม” สนับสนุนภาคเอกชนในการจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานสงเคราะห์เด็ก รวมทั้งสถานรับเลี้ยงและพัฒนาเด็กปฐมวัย (3) การสนับสนุนเงินทุนของกองทุนคุ้มครองเด็ก (4) การช่วยเหลือเด็กพิการและด้อยโอกาสให้มีโอกาสเรียนฟรี
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. 2. ผู้สูงอายุ (1) การดูแลผู้สูงอายุ จัดบริการเยี่ยมบ้าน แนะนำการดูแลสุขภาพจากหลายภาคส่วน - อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) - อาสาสมัครสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) - อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) สถานบริการสำหรับผู้สูงอายุภาครัฐ มีจำนวน 25 แห่ง สถาบันดูแลผู้สูงอายุภาคเอกชน มีจำนวน 138 แห่ง
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. (2) การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุแบบขั้นบันได อายุ 60 – 69 ปี ได้รับเงิน 600 บาท/เดือน อายุ 70 – 79 ปี ได้รับเงิน 700 บาท/เดือน อายุ 80 – 89 ปี ได้รับเงิน 800 บาท/เดือน อายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับเงิน 1,000 บาท/เดือน
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. 3. สตรี จัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มสตรีที่ด้อยโอกาส อยู่ในกลุ่มเสี่ยง และประสบปัญหาทางสังคม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 (1) จัดฝึกอบรมวิชาชีพในศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพสตรี 8 แห่ง (2) ฝึกอาชีพให้สตรีในชุมชน ตามโครงการสร้างชีวิตใหม่ ให้กับสตรีในครอบครัว
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. (3) ช่วยเหลือ บำบัด ฟื้นฟู คุ้มครอง และพัฒนาอาชีพให้กับสตรี ที่ตกเป็นเหยื่อ การค้ามนุษย์ในสถานคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ 4 แห่ง ภายใต้ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ.2539 และ พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 กลุ่มที่ 2 จัดให้มีศูนย์บริการช่วยเหลือเด็กและสตรีในสภาวะวิกฤติจาก ความรุนแรงหรือศูนย์พึ่งได้ (One Stop Crisis Center : OSCC) ใน โรงพยาบาลต่างๆ กระจายอยู่ทั่วประเทศ
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. 4. ผู้พิการ ดำเนินงานตาม พ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 และ พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 ดังนี้ (1) สงเคราะห์และฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ มีสถานสงเคราะห์ 10 แห่ง ใน 6 จังหวัด (2) สงเคราะห์เครื่องกายอุปกรณ์ โดยหน่วยงานภาครัฐ 2 แห่ง ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพการแพทย์แห่งชาติ สังกัดกรมการแพทย์ กระทรวง พม. เน้นให้ความช่วยเหลือคนพิการที่เป็น สมาชิกของสมาคมคนพิการ
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. (3) การสงเคราะห์ด้านการเงิน จ่ายเงินเบี้ยยังชีพคนพิการเดือนละ 500 บาท แก่คนพิการ ที่ได้รับการจดทะเบียนทุกคน จัดสรรเงินเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินหรือสิ่งของแก่ ครอบครัวผู้พิการไม่เกิน 2,000 บาท/ครั้ง ติดต่อกันไม่เกิน 3 ครั้ง/ครอบครัว รวมทั้งให้คำปรึกษาแนะนำต่างๆ กองทุนส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เพื่อส่งเสริม การดำเนินงานด้านการสงเคราะห์ช่วยเหลือคนพิการ ทั้งที่เป็นองค์กร ภาครัฐและภาคเอกชน
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. 5. ผู้ด้อยโอกาส (1) คนยากจน จ่ายเงินสงเคราะห์ครอบครัวไม่เกิน 2,000 บาท ติดต่อกัน ไม่เกิน 3 ครั้ง/ปี ให้ที่พักชั่วคราว ในบ้านพักชั่วคราวคนจนเมือง 4 แห่ง เพื่อช่วยเหลือผู้เดือดร้อนด้านที่อยู่อาศัย อันเนื่องมาจากประสบสาธารณภัย ถูกไล่ที่ ต้องอพยพเร่งด่วน ผู้ตกทุกข์ได้ยากในประเทศและนอกประเทศ จะได้รับ การส่งกลับภูมิลำเนาเดิม โดยการช่วยเหลือเป็นค่าพาหนะและค่าอาหาร ระหว่างเดินทาง
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. (2) คนเร่ร่อน คนไร้ที่พึ่ง และคนขอทาน ช่วยเหลือสิ่งของ เงินค่าอุปโภคบริโภค ค่าซ่อมที่อยู่อาศัย ค่ารักษาพยาบาล และทุนประกอบอาชีพ ครั้งละไม่เกิน 1,000 บาท ช่วยได้ ไม่เกิน 3 ครั้ง/ปี รับไว้อุปการะในสถานสงเคราะห์คนไร้ที่พึ่ง จำนวน 11 แห่ง สถานแรกรับคนไร้ที่พึ่ง 2 แห่ง เน้นช่วยเหลือด้านการฝึกอาชีพ สร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เด็กเร่ร่อนภายใต้โครงการครู ข้างถนน โดยต่อยอดมาเป็น “ศูนย์สร้างโอกาสเด็ก” ปัจจุบันมีจำนวน 7 แห่ง เพื่อเป็นศูนย์บริการเฉพาะกลางวันแก่ครูข้างถนนและเด็กเร่ร่อน
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. (3) บุคคลที่มีปัญหาสถานะทางกฎหมาย จะได้รับความ ช่วยเหลือจากรัฐ เป็นบริการขั้นพื้นฐาน คือ สิทธิในการรักษาพยาบาลตามโครงการหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า สิทธิในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการสงเคราะห์ช่วยเหลือจากกรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. (4) ผู้ได้รับผลกระทบจากเอดส์และครอบครัว ได้รับความ ช่วยเหลือ ดังนี้ การอุปการะในสถานสงเคราะห์ มีจำนวน 4 แห่ง เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัว รายละ 1,000 บาท แต่ ไม่เกิน 3,000 บาท จ่ายไม่เกิน 3 ครั้ง/ปี เงินสงเคราะห์ครอบครัว ครั้งละไม่เกิน 2,000 บาท จ่ายไม่เกิน 3 ครั้ง/ปี เงินทุนสำหรับผู้ป่วยเอดส์ นำไปประกอบอาชีพ รายละ ไม่เกิน 5,000 บาท จ่ายเบี้ยยังชีพ 500 บาท/คน/เดือน
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. (5) การพัฒนาศักยภาพการดำรงชีวิตของประชากรบนพื้นที่สูง 20 จังหวัด พัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ฝึกอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้ตนเองและครอบครัว สงเคราะห์ครอบครัวชาวเขาที่ยากจน (6) การพัฒนาศักยภาพการดำรงชีวิตของประชากรในนิคมสร้าง ตนเอง 43 แห่ง การบริหารจัดการที่ดิน (บรรจุสมาชิกนิคม การออก น.ค.3 การรังวัดที่ดิน การแก้ปัญหาข้อพิพาท)
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. การส่งเสริมอาชีพ การดำเนินงานสินเชื่อ การจัดการกับทรัพยากร (7) ผู้ที่อยู่ในธุรกิจบริการทางเพศ : ได้รับสิทธิตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สตรีและเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี ที่กระทำผิดตาม พ.ร.บ. ปราบปรามการค้าประเวณี พ.ศ.2539 และผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของ การค้ามนุษย์ จะอุปการะไว้ในสถานแรกรับหรือสถานคุ้มครองและ พัฒนาอาชีพ
การสงเคราะห์ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ของกระทรวง พม. (8) ผู้ประสบภัย : จัดบริการ ณ จุดเกิดเหตุ อาหาร น้ำดื่ม หน่วยแพทย์ เคลื่อนที่ การสงเคราะห์เงินและสิ่งของบรรเทาทุกข์แก่ผู้เดือดร้อน ให้คำปรึกษาแนะนำ การฝึกอาชีพ และสนับสนุนการรวมกลุ่มเพื่อประกอบ อาชีพ