470 likes | 743 Views
ISO/ TC 46 มาตรฐานด้านการเอกสารและสารสนเทศ. สุวรรณา ธนพัฒน์ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม suwanna@tisi.go.th. หัวข้อ. ISO คืออะไร ? ISO กำหนดมาตรฐานอย่างไร ? ISO/TC 46 คืออะไร ? ประเทศไทยมีบทบาทอย่างไรใน ISO ?. ISO คืออะไร ?.
E N D
ISO/TC 46มาตรฐานด้านการเอกสารและสารสนเทศ สุวรรณา ธนพัฒน์ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม suwanna@tisi.go.th
หัวข้อ • ISO คืออะไร ? • ISO กำหนดมาตรฐานอย่างไร ? • ISO/TC 46 คืออะไร ? • ประเทศไทยมีบทบาทอย่างไรใน ISO?
องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน(International Organization for Standardization-ISO) วัตถุประสงค์: ให้การสนับสนุนด้านการมาตรฐานและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อ • ส่งเสริมการค้าและบริการระหว่างประเทศ • สนับสนุนความร่วมมือระหว่างประเทศ ทางด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และด้านเศรษฐกิจ ขอบข่าย: ครอบคลุมมาตรฐานทุกสาขา วิชายกเว้นด้านไฟฟ้า
ที่มาของชื่อย่อ ISO IOS = International Organization for Standardization OIN = Organisation international de normalisation ISO = International Organization for Standardization ISOS = Equal (ภาษากรีก)
สมัชชาทั่วไป คกก.ที่ปรึกษากำหนดนโยบาย -คกก.ประเมินผลเพื่อการรับรอง -คกกนโยบายผู้บริโภค -คกก.ด้านประเทศกำลังพัฒนา คณะกรรมธิการวิสามัญคณะมนตรี คณะมนตรี คกก.บริหารด้านวิชาการ กลุ่มคณะที่ปรึกษาเฉพาะกิจ คกก.หลักเกณฑ์การมฐ.ทั่วไป สำนักเลขาธิการ คณะที่ปรึกษา(วิชาการ) คกก.วิชาการ
สมาชิกของ ISO ปัจจุบันมีสมาชิก 137 ประเทศ • Member body : 90 ประเทศ (มีสิทธิออกเสียงในเรื่องวิชาการ มีสิทธิเข้ารับการเลือกตั้งเป็นสมาชิก Council และเข้าร่วมประชุม General Assembly • Correspondent member : 36 ประเทศ (มีสิทธิรับทราบข่าวคราวความเคลื่อนไหวของ ISO แต่ไม่มีสิทธิเข้าร่วมงานวิชาการ) • Subscriber member : 11 ประเทศ
ISO กำหนดมาตรฐานอย่างไร ?
การกำหนดมาตรฐานของ ISO • Technical Committee -TC - 187 คณะ • Sub-Committee - SC - 552 คณะ • Working Group - WG - 2100 คณะ • Ad hoc Study Group - 19 คณะ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมีความสนใจสมัครเข้าร่วมใน ISO/TC/SC
ISO/TC/SC • สมาชิกร่วมทำงาน (Participating Member : P-Member) • มีข้อผูกพันต้องเข้าร่วมประชุม และออกเสียงในทุกขั้นตอนของการกำหนดมาตรฐาน • สมาชิกสังเกตการณ์ (Observer Member : O-Member) • มีสิทธิได้รับเอกสารวิชาการ
ขั้นตอนการกำหนดมาตรฐานของ ISO • Stage 1:Preliminary stage • Stage 2: Proposal stage • Stage 3: Preparatory stage • Stage 4: Committee stage • Stage 5: Enquiry stage • Stage 5: Approval stage • Stage7: Publication stage
Stage 1: Preliminary stage • เป็นขั้นตอนที่ TC/SCเสนอเรื่องเพื่อจัดทำเป็นมาตรฐานบรรจุไว้ในแผนการกำหนดมาตรฐานซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบในการจัดทำจาก P-Member
Stage 2: Proposal stage • เป็นขั้นตอนเสนอ New work item proposal (NP) เพื่อขอความเห็นชอบจาก TC/SC ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบจาก P-Member เป็นส่วนใหญ่ (ไม่น้อยกว่า 5 ประเทศ) • ส่งไปลงทะเบียนโดย Chief Executive Officers (CEO)
Stage 3: Preparatory stage • เป็นขั้นตอนการจัดเตรียม Working Draft (WD)โดย Working Group (WG) เพื่อเวียนให้สมาชิก TC/SC พิจารณา และให้ความเห็นชอบ • จัดทำเป็น Committee Draft (CD)
Stage 4: Committee stage • เอกสาร Committee Draft (CD) จะส่งไปยัง CEO เพื่อลงทะเบียน เวียนไปยัง P-Member เพื่อขอข้อคิดเห็น (3 เดือน) • หากได้รับความเห็นชอบ 75% จะจัดทำเป็น DIS ต่อไป (ภายใน 4 สัปดาห์หลัง Vote ต้องรายงานผลการ Vote ให้สมาชิกทราบเพื่อพิจารณาร่วมกัน
Stage 5: Enquiry stage • DIS จะส่งเวียนไปยัง P-Member เพื่อขอข้อคิดเห็น (5 เดือน) • หากได้รับความเห็นชอบ 75% จะจัดทำเป็น FDIS ต่อไป หากไม่ผ่านต้องนำกลับไปแก้ไขและเวียนขอความเห็นชอบใหม่ อีกครั้ง • ภายใน 4 สัปดาห์ ต้องทำรายงานผลการ Vote ให้สมาชิกทราบ
Stage 6: Approval stage • FDIS จะส่งเวียนไปยัง P-Member เพื่อขอข้อคิดเห็น (2 เดือน) • หากได้รับความเห็นชอบจากสมาชิก 2 ใน 3 และเสียงคัดค้านต้องไม่เกิน 1/4 จึงจะจัดพิมพ์เป็น International Standard ต่อไป หากไม่ผ่านต้องนำกลับไปแก้ไขปรับปรุงใหม่ • ภายใน 2 สัปดาห์ต้องทำรายงานผลการ Vote ให้สมาชิกทราบ
Stage 7: Publication stage FDIS ที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว จะส่งไปยัง ISO /CS เพื่อจัดพิมพ์เป็น International Standard ต่อไป (ภายใน 2 เดือน)
Fast-track procedure • มาตรฐานที่พัฒนาขึ้นโดยองค์กรระดับประเทศ และได้รับความเห็นชอบจากสมาชิกให้มีการกำหนดเป็นมาตรฐานระหว่างประเทศ เอกสารนี้จะเริ่มจากการจัดทำเป็น DIS Stage 5: Enquiry stage • มาตรฐานที่พัฒนาขึ้นโดยองค์กรระดับระหว่างประเทศ ซึ่งได้รับการยอมรับจาก ISO Council เอกสารนี้จะเริ่มจากการจัดทำเป็น FDIS Stage 6: Approval stage
ขั้นตอนในการกำหนดมาตรฐานของ ISO PWI NP WD ISO CD DIS FDIS
คณะกรรมการวิชาการด้านการเอกสารและสารสนเทศ (ISO/TC 46 : Information and Documentation) • ปีที่ก่อตั้ง: ปี ค.ศ.1947 • ขอบข่ายงาน : กำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการดำเนินงานของห้องสมุด ศูนย์เอกสารและสารสนเทศต่าง ๆ ด้านการจัดทำสาระสังเขป/ดรรชนี ด้านจดหมายเหตุ ด้านสนเทศศาสตร์และการพิมพ์ • เลขานุการ: ประเทศฝรั่งเศส (AFNOR)
ISO/TC 46 มีคณะอนุกรรมการ (SC) รวม 7 คณะ(เดิม) • TC 46 / SC 2 Conversion of written languages • TC 46 / SC 3 Terminology of information and documentation • TC 46 / SC 4 Computer applications in information and documentation • TC 46 / SC 8 Statistics and performance evaluation • TC 46 / SC 9 Presentation, identification and description of documents • TC 46 / SC 10 Physical keeping of documents • TC 46 / SC 11 Archives/records management
ISO/TC 46 มีคณะอนุกรรมการ (SC) รวม 4 คณะ(ใหม่) • TC 46 / SC 4 Computer applications in information and documentation • TC 46 / SC 8 Quality -Statistics and performance evaluation • TC 46 / SC 9 Identification and description • TC 46 / SC 11 Archives/records management
TC 46 Information and documentation • TC 46/WG 2: Coding of country names and related entities • TC 46/WG 3: Conversion of written languages • TC 46/WG 4: Terminology of information and documentation
TC 46 / SC 4 Computer applications in information anddocumentation • เลขานุการ : สหรัฐอเมริกา (ANSI) (5WG) • WG 1 Character sets • WG 4 Format structures for bibliographic information interchange in machine readable form • WG 6 Electronic publishing • WG 7 Data elements • WG 8 Library codes +JTC1: Information technology
TC 46 / SC 8 Quality - Statistics and performance evaluation • เลขานุการ: สวีเดน (SIS)(2WG) • WG 2: International library statistics • WG 4: Performance indicators for libraries
TC 46 / SC 9 Identification and description • เลขานุการ: แคนาดา (SCC)(3WG) • WG 1 International standard audiovisual number (ISAN) • WG 2 International standard work code (ISWC) • WG 3 International standard Textual work code (ISTC)
TC 46 / SC 11 Archives/records management • เลขานุการ : ออสเตรเลีย (SAI)
Total number of published ISO standards related to the TC and its SCs: 76 and 20 in process • Participating countries: 30Observer countries: 38
การประสานงานของ ISO/TC 46 กับ TC อื่น • JTC 1 Information technology • TC 6 Paper, board and pulps • TC 10 Technical product documentation • TC 37 Terminology (principles and coordination) • TC 154 Processes, data elements and documents in commerce, industry and administration • TC 171 Document imaging applications • TC 211 Geographic information/Geomatics
การประสานงานของ ISO/TC 46 กับองค์กรต่าง ๆ Category A Liaisons (17) • CIDOC International Documentation Committee, International Council of Museums • CISAC Confederation of Societies of Authors and composers • DOI International Digital Object Identifier Foundation • EASE European Association of Science Editors • EC European Commission
FID International Federation of Information and Documentation • IAEA International Atomic Energy Agency • ICA International Council on Archives • ICSTI International Council for Scientific and Technical Information • IFLA International Federation of Library Associations and Institutions • IFSE International Federation of Science Editors
INFOTERM International Information Centre for Terminology • ISSN-IC ISSN International Centre • TERMNET International Network for Terminology • UN/ECE United Nations Economic Commission for Europe • UNCTAD United Nations Conference on Trade and Development • UNESCO United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization
Category B Liaisons • IIR International Institute of Refrigeration • UN United Nations • UPU Universal Postal Union • WIPO World Intellectual Property Organization
บทบาทของประเทศไทยใน ISO • ประเทศไทยโดย สมอ. ี่เป็นสถาบันมาตรฐานแห่งชาติเข้าร่วมเป็นสมาชิก ISO ประเภท Member body เข้าร่วมดำเนินงานกับ ISO ทั้งด้านบริหารและวิชาการ
ด้านวิชาการ เป็นสมาชิกประเภทร่วมทำงาน (P-member) • ใน TC/SC 64 คณะ เป็นสมาชิกประเภทสังเกตการณ์ (O-member) • ใน TC/SC149 คณะ
การดำเนินงานด้านการมาตรฐานภายใต้ ISO/TC 46 ของไทย • 20 กรกฎาคม 2527 คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาเอกสารและร่างมาตรฐานของคณะกรรมการวิชาการไอเอสโอ คณะที่ 46 แต่งตั้งขึ้นตามคำสั่งคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการมาตรฐานระหว่างประเทศที่ 1/2527 • มีหน้าที่พิจารณาให้ข้อคิดเห็นในร่างมาตรฐานและเอกสารที่เกี่ยวข้องที่กำหนดโดยคณะกรรมการวิชาการไอเอสโอ คณะที่ 46 (ISO/TC 46)
มาตรฐานไทยที่เสนอเป็นมาตรฐาน ISO • ISO 11940:1998 Information and documentation -- Transliteration of Thai • ISO/DIS 11940-2Transliteration of Thai Characters into Latin characters – Part 2 : Simplified transcription of Thai language
คำประกาศแจ้งลิขสิทธิ์ของ ISO • เอกสารมาตรฐาน/ร่างมาตรฐานเป็นเอกสารภายใต้ลิขสิทธิ์ของ ISO การดำเนินการผลิต/ทำซ้ำ โดยการถ่ายสำเนา หรือผลิตเป็นสื่ออื่น ๆ จะกระทำมิไม่หากไม่ได้รับอนุญาตจาก ISO • การแจ้งขออนุญาตให้ติดต่อโดยตรงที่ ISO หรือติดต่อผ่านประเทศสมาชิกของ ISO • การผลิต/ทำซ้ำ จะต้องเสียค่าลิขสิทธิ์และต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขข้อตกลง ผู้ละเมิดจะต้องถูกฟ้องร้องดำเนินการตามกฎหมาย