1 / 25

การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง CQI

การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง CQI. พันตรีหญิงนฤมล ทองวัชรไพบูลย์. แนวคิดพื้นฐานของกระบวนการ Hospital Accreditation (HA). คุณภาพและความปลอดภัย. กระบวนการ เรียนรู้. การพัฒนาตนเอง. การประเมินจากภายนอก (เยี่ยมสำรวจ). การรับรองคุณภาพ. การประเมินตนเอง. ค่านิยมและแนวคิดหลัก

arien
Download Presentation

การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง CQI

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง CQI พันตรีหญิงนฤมล ทองวัชรไพบูลย์

  2. แนวคิดพื้นฐานของกระบวนการ Hospital Accreditation (HA) คุณภาพและความปลอดภัย กระบวนการ เรียนรู้ การพัฒนาตนเอง การประเมินจากภายนอก (เยี่ยมสำรวจ) การรับรองคุณภาพ การประเมินตนเอง ค่านิยมและแนวคิดหลัก -HA เป็นกระบวนการเรียนรู้ -มุ่งเน้นผู้ป่วยและสุขภาพ -พัฒนาต่อเนื่อง

  3. การทบทวนเพื่อค้นหาโอกาสพัฒนา การทบทวนเวชระเบียน Assessment Discharge Entry Planning Implementation Evaluation การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย การทบทวนอื่นๆ Customer Complaint Review Adverse Event/Risk Management System Competency Management System Infection Control Drug Management System Resource Management / Utilization Review KPI Review Care & Risk Communication Continuity & D/C plan Team work HRD Environment & Equipment Holistic Empowerment Lifestyle Prevention

  4. KPI Monitoring ติดตามเครื่องชี้วัดสำคัญ จุดประกายสร้างสรรค์ มาช่วยกันดูหลายๆ มุม Creativity & Innovation Multidisciplinary Team เป้าหมาย ศึกษาจากผู้เยี่ยมยุทธ์ รุมดูแลแบบองค์รวม Benchmarking Holistic Care สวมความรู้วิชาการ เจาะจุดอ่อนจากข้างเตียง/บันทึก Bedside/Medical Record Review Evidence-based Practice ใช้อุบัติการณ์มาวิเคราะห์ Root cause Analysis from Incidence

  5. ความท้าทาย ความคิดใหม่ๆ การทบทวนในงานประจำ อุบัติการณ์ การวิเคราะห์ เรียนรู้ระหว่างพัฒนา (Learn During) After Action Review ผลงาน บริบท เรียนรู้ก่อนการพัฒนา (Learn Before) Knowledge Sharing Peer Assist เรียนรู้หลังการพัฒนา (Learn After) Evaluation -Achievement -Strength/weakness -KPI Monitoring -Evaluation research จุดประกาย ความต้องการพัฒนา ตั้งเป้า ความรู้/นวตกรรม คลังความรู้

  6. 3C-PDSA vs Clinical Tracer of Quality หลักคิดสำคัญ (Core Values & Concepts) ทบทวน ประเมินเรียนรู้ Root cause ตัวชี้วัด Study/Learning ทำความเข้าใจ เป้าหมายของมาตรฐาน Act/Improve Do เป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ มาตรฐาน ปรับปรุง Plan/Design ออกแบบระบบ ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ บริบท

  7. ลายแทงคุณภาพ

  8. ลายแทงคุณภาพ ประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด มีความสอดคล้องกันหรือไม่ สมบูรณ์หรือไม่

  9. มีการทบทวน ประเมิน และเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ ลายแทงคุณภาพ

  10. ลายแทงคุณภาพ มีการใช้ Core Values & Concepts ที่เหมาะสมหรือไม่

  11. ในหน่วยบริการผู้ป่วยนั้น ได้นำเอาโรคหรือหัตถการที่มีความสำคัญสูงมาทบทวนเป้าหมายและการบรรลุเป้าหมายหรือไม่

  12. จุดไหนบ้างที่ควรจะให้ความสำคัญสูงจุดไหนบ้างที่ควรจะให้ความสำคัญสูง • ประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด มีความสอดคล้องกันหรือไม่ สมบูรณ์หรือไม่ • มีการทบทวน ประเมิน และเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ • มีการใช้ Core Values & Concepts ที่เหมาะสมหรือไม่ • ในหน่วยบริการผู้ป่วยนั้น ได้นำเอาโรคหรือหัตถการที่มีความสำคัญสูงมาทบทวนเป้าหมายและการบรรลุเป้าหมายหรือไม่

  13. เครื่องชี้วัดโครงสร้าง (Structural indicators) • บ่งชี้ว่าระบบมีศักยภาพและทรัพยากรเพียงพอที่จะให้บริการที่มีคุณภาพ • ตัวอย่าง - จำนวนแพทย์ต่อผู้ใช้บริการ- จำนวนผู้ใช้บริการต่อเตียง - จำนวนวันฝึกอบรมเฉลี่ยต่อบุคลากร • ใช้ได้ดีเมื่อมีความสัมพันธ์กับกระบวนการและผลลัพธ์

  14. เครื่องชี้วัดกระบวนการ (Process indicators) • บ่งชี้ว่าการปฏิบัติงานในกระบวนการทำได้ตามที่กำหนด • เครื่องชี้วัด - กิจกรรม (Activity) - เวลา (Time) • ตัวอย่าง - อัตราการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติ- ระยะเวลารอคอย - ระยะ เวลาที่ใช้ในการบริการ

  15. เครื่องชี้วัดกระบวนการ (Process indicators) • ใช้อธิบายเหตุผลที่เกิดผลลัพธ์ดี • เป้าหมายของการวัดคือการปรับปรุงวิธีการบริการ • ใช้ปรับหรือจัดชั้นในสถานการณ์ที่แข่งขัน/บังคับ • มีเวลาน้อย • เรื่องนั้นต้องใช้เวลานานกว่าจะเห็นผล • สนใจผลงานของผู้ให้บริการที่มีงานน้อย Palmer, Int J Quality Healthcare, 1998

  16. เครื่องชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome indicators) • บ่งชี้การบรรลุถึงเป้าหมายของงานหรือกระบวนการ • เครื่องชี้วัด - Disease-specific / General health status - Goal achievement - Adverse outcomes (Morbidity/Mortality) - ความพึงพอใจ (Satisfaction) • ตัวอย่าง - อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล- ความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อผลการรักษา

  17. เครื่องชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome indicators) • ต้องการวัดผลงานของทั้งระบบ • ต้องการค้นหาประเด็นที่จะปรับปรุง • รู้อยู่แล้วว่ากระบวนการนั้นให้ผลลัพธ์ที่ดี • มีเวลานานพอที่จะรอผล • มีจำนวนผู้ป่วยมาก Palmer, Int J Quality Healthcare, 1998

  18. เครื่องชี้วัดทางคลินิกเฉพาะโรค(Disease-Specific Outcome Indicators) • การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี • การเปลี่ยนแปลงทางจุลชีววิทยา • การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา • อาการและอาการแสดงทางคลินิก • ความรู้สึกที่มีนัยสำคัญทางคลินิก • สภาวะทางร่างกาย,จิตใจหรือทางสังคม

  19. Quality of Patient Care • มีสถิติข้อมูลที่ดี • สอดคล้องกับมาตรฐานการดูแลและวิชาชีพ • เริ่มเปลี่ยนจากการเน้นกระบวนการมาสู่ผลลัพธ์ Balance • เครื่องชี้วัดผลลัพธ์กับกระบวนการ • ระดับความรับผิดชอบ (level)

  20. LAGOutcome วัดผลลัพธ์/วิบากกรรม ตัวอย่าง อัตราตาย อัตราความพึงพอใจ อัตราการติดเชื้อ อัตราการแพ้ยา อัตราการตกเลือด LEAD Process วัดเหตุแห่งผลลัพธ์/กรรม ตัวอย่าง อัตราการปฏิบัติตาม CPG/caremap อัตราการให้สุขศึกษา ระยะเวลารอคอย อัตราการตรวจพบได้เร็ว Lag and Lead Measures

  21. ตามรอย (tracer) เพื่อทบทวนคุณภาพการดูแลผู้ป่วย • พิจารณาว่าขั้นตอนใดที่มีความสำคัญสูงเป็นพิเศษในการดูแลสภาวะ/โรคนั้น • ขณะนี้มีวิธีการในการดูแลเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างดีที่สุดอย่างไร • มีระบบการควบคุมอย่างไรเพื่อให้เป็นไปตามที่ออกแบบไว้ มีโอกาสพัฒนาอะไรบ้าง

  22. การนำเสนอข้อมูลเฝ้าระวัง กรณีที่มีการติดเชื้อต่ำ

  23. ความผิดพลาดในกระบวนการดูแลรักษาที่ทําใหเกิดเหตุการณไมพึงประสงคความผิดพลาดในกระบวนการดูแลรักษาที่ทําใหเกิดเหตุการณไมพึงประสงค

  24. สถานที่ที่เกิดเหตุการณไมพึงประสงคสถานที่ที่เกิดเหตุการณไมพึงประสงค

  25. สาเหตุสําคัญของความผิดพลาดในกระบวนการดูแลรักษาสาเหตุสําคัญของความผิดพลาดในกระบวนการดูแลรักษา

More Related