600 likes | 1.06k Views
การติดต่อสื่อสาร. Communication. การติดต่อสื่อสาร ( Communication). คือ การแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคคลต่างๆ. ประเภทของการติดต่อสื่อสาร การติดต่อสื่อสารที่เป็นภาษา (Verbal Communication) การติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นภาษา (Nonverbal Communication). ภาษาพูด ภาษาเขียน. Verbal Communication.
E N D
การติดต่อสื่อสาร Communication
การติดต่อสื่อสาร (Communication) คือ การแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคคลต่างๆ • ประเภทของการติดต่อสื่อสาร • การติดต่อสื่อสารที่เป็นภาษา • (Verbal Communication) • การติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นภาษา (Nonverbal Communication)
ภาษาพูด ภาษาเขียน Verbal Communication คือ การติดต่อสื่อสารที่เป็นภาษา
จดหมายข่าว คู่มือเกี่ยวกับกฏ ระเบียบ นโยบายต่างๆ จดหมายธุรกิจ บันทึกภายในสำนักงาน(Memorandum) ข้อความทางโทรศัพท์ ที่ได้จดบันทึกไว้ ภาษาเขียน Verbal Communication
ข้อดีข้อเสียของภาษาพูดและภาษาเขียนข้อดีข้อเสียของภาษาพูดและภาษาเขียน • ข้อดีของภาษาเขียน • เก็บไว้เป็นหลักฐานได้ • สามารถกระจายข่าวให้กับ • บุคคลจำนวนมากได้เร็ว • ข้อเสียของภาษาเขียน • ต้นทุนในการเตรียมการสูง • มีลักษณะที่ไม่เป็นทางการ
ข้อดีข้อเสียของภาษาพูดและภาษาเขียนข้อดีข้อเสียของภาษาพูดและภาษาเขียน • ข้อดีของภาษาพูด • รวดเร็วเป็นกันเอง • เห็นผลสะท้อนได้รวดเร็ว • ข้อเสียของภาษาเขียน • เสียเวลานานในการพูดคุย
Nonverbal Communication “การติดต่อสื่อสารที่แสดงออกทางพฤติกรรม” ๑ การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Kinesic Behavior) ลักษณะท่าทาง สีหน้า สายตา
Nonverbal Communication ๒ ความใกล้ของสถานที่ (Proxemics) อิทธิพลของสถานที่ที่ มีต่อการติดต่อสื่อสาร
Nonverbal Communication ๓ ลักษณะของน้ำเสียง (Paralanguage) น้ำเสียงที่เปล่งออกมา แสดงถึงอารมณ์และ ความรู้สึก
Nonverbal Communication ๔ วัตถุสิ่งของที่ใช้ (Object Language) เกิดจากวัตถุสิ่งของที่ใช้“การติดต่อสื่อสารที่แสดงออกทางพฤติกรรม” “การติดต่อสื่อสารที่แสดง ออกทางพฤติกรรม”
การประชุมที่ไม่ได้กำหนดล่วงหน้า ๑๒% การประชุมที่กำหนดไว้ล่วงหน้า ๕๐ % การเดินดูสถานที่ทำงาน ๓% การทำงานบนโต๊ะ๒๖% การพูดโทรศัพท์ ๙% การติดต่อสื่อสารกับการบริหาร
noise THE COMMUNICATION PROCESS SENDER RECEIVER Message/ Medium stimulus encodes decodes decodes encodes Feedback/ Medium
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสารองค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร ผู้ส่ง (Sender) ผู้เริ่มต้นของการเผยแพร่ข่าวสาร การใส่รหัส (Encoding) ขบวนการแปลความหมาย
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสารองค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร ข่าวสาร (Message) ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจากการใส่รหัส“ข่าวสารที่ส่งไปให้ผู้รับต้องอาศัย สื่อ (Medium)”
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสารองค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร ผู้รับ (Receiver) บุคคลที่ต้องการให้ข่าวสาร เปลี่ยนมือไปถึง
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสารองค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร การถอดรหัส (Decoding) กระบวนการแปล สัญลักษณ์ที่ได้รับให้อยู่ในรูปของข่าวสารที่เข้าใจ
องค์ประกอบของการติดต่อสื่อสารองค์ประกอบของการติดต่อสื่อสาร สิ่งรบกวน (Noise) สิ่งที่สอดแทรก หรือ ก่อกวนในการสื่อสาร ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
One-Way Communicationกระบวนการติดต่อสื่อสารที่ไม่เปิดช่องทาง Two- Way Communicationการติดต่อสื่อสารแบบสองทาง
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสื่อสารปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสื่อสาร ๑. กระบวนการรับรู้ (Perception Process) = การที่บุคคลจะรับรู้ข่าวสารต่างๆ A. การเลือกข่าวสาร (Selecting) B. การจัดข่าวสาร (Organizing) C. การแปลข่าวสาร (Interpreting)
THE PERCEPTION PROCESS กระบวนการรับรู้ Selection Organizing Interpreting meaning การเลือกข่าวสาร (Selecting) การแปลข่าวสาร (Interpreting) การจัดข่าวสาร (Organizing)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสื่อสารปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสื่อสาร C. การแปลข่าวสาร (Interpreting) Stereotyping การอิงภาพพจน์กลุ่ม Halo Effect สรุปผลจากข้อมูลบางส่วน Projection การคาดหวัง Perceptual Defense ปิดกั้นการรับรู้ Self-Servicing Bias ลำเอียงเข้าข้างตน
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสื่อสารปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสื่อสาร • ๒. การเลือกใช้คำ (Semantics) • = การศึกษาความหมายของคำพูดและการเลือกใช้คำพูดที่เหมาะสม • ขอบข่ายของคำ (Semantic Net) • อุปสรรคการใช้คำ (Semantic Blocks)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสื่อสารปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสื่อสาร • ๒. การเลือกใช้คำ (Semantics) • ขอบข่ายของคำ (Semantic Net) • กลุ่มคำพูดและความหมายของคำพูดที่มี อยู่ในหน่วยความจำของแต่ละคน • อุปสรรคการใช้คำ (Semantic Blocks) • ความยากลำบากในการเลือกใช้คำพูด
การติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นภาษาสามารถช่วยการติดต่อสื่อสารที่เป็นภาษาได้การติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นภาษาสามารถช่วยการติดต่อสื่อสารที่เป็นภาษาได้ ความสัมพันธ์ระหว่าง Verbal and Nonverbal Communication
ความสัมพันธ์ระหว่าง Verbal and Nonverbal Communication • ย้ำข่าวสารที่เป็นภาษาให้เข้าใจมากขึ้น • เพิ่มเติมข้อมูลบางอย่าง • เน้นข่าวสาร • กำหนด กฎ เกณฑ์บางอย่างได้
ความสัมพันธ์ระหว่าง Verbal and Nonverbal Communication • ใช้แทนข่าวสารที่เป็น ภาษาได้ • บ่งบอกให้ทราบถึงความหมายที่ขัดแย้งกับข่าวสารที่เป็นภาษาได้
ศิลปะในการติดต่อสื่อสารศิลปะในการติดต่อสื่อสาร • ศิลปะการฟัง (Listening Skills) “เข้าใจ”
ศิลปะในการติดต่อสื่อสารศิลปะในการติดต่อสื่อสาร • ศิลปะด้านข้อมูลย้อนกลับ • (Feedback Skills) • * เน้นพฤติกรรมหรือผลการทำงาน > การสนใจในตัวบุคคล • * นำมาพัฒนาและปรับปรุงวิธีการดำเนินงาน เพื่อไม่ให้เสียลูกค้า
๑ โครงข่ายแบบรวมอำนาจ (Centralization) โครงข่ายการติดต่อสื่อสารในกลุ่ม Communication Network = ระบบที่ข้อมูลข่าวสาร ไหลไปมาระหว่างสมาชิกที่อยู่ในกลุ่มงานเดียวกัน
๒. โครงข่ายแบบกระจายอำนาจ (Decentralization) โครงข่ายการติดต่อสื่อสารในกลุ่ม Communication Network = ระบบที่ข้อมูลข่าวสาร ไหลไปมาระหว่างสมาชิกที่อยู่ในกลุ่มงานเดียวกัน
A B X D C โครงข่ายแบบรวมอำนาจ ๑. โครงข่ายแบบล้อ (Wheel Network)
Chain A x B C โครงข่ายแบบรวมอำนาจ ๒. โครงข่ายแบบลูกโซ่(Chain Network)
A B x C D โครงข่ายแบบรวมอำนาจ ๓. โครงข่ายแบบ Y(Y Network)
A Circle E B D C โครงข่ายแบบกระจายอำนาจ ๑. โครงข่ายแบบวงกลม(Circle Network)
A B E C D โครงข่ายแบบกระจายอำนาจ ๒. โครงข่ายแบบดวงดาว (Star Network) All-channel
โครงข่ายแบบรวมอำนาจ (Centralization) เหมาะกับงานซ้ำซาก จำเจ โครงข่ายแบบกระจายอำนาจ (Decentralization) เหมาะกับงานซับซ้อน
ช่องทางการติดต่อสื่อสารOrganizational Communication Channels ๑.การติดต่อสื่อสารในแนวดิ่ง (Vertical Communication) คือ การติดต่อสื่อสารระหว่าง ผู้บังคับบัญชากับ ผู้ใต้บังคับบัญชา (ต่างชั้นกัน)
การติดต่อสื่อสารในแนวดิ่ง (Vertical Communication) ข่าวสารไหลได้ ๒ ทางด้วยกัน ๑.๑ การติดต่อสื่อสารจากบนลงล่าง (Downward Communication) ๑.๒ การติดต่อสื่อสารจากล่างขึ้นบน (Upward Communication)
การติดต่อสื่อสารจากบนลงล่างDownward Communication คือ การไหลของข้อมูลข่าวสารจากระดับบนลงสู่ระดับล่าง
การติดต่อสื่อสารจากบนลงล่างDownward Communication ยกตัวอย่างเช่น ๑ คำสั่งงาน ๒ คำชี้แจงเกี่ยวกับงานที่ได้รับมอบหมาย ๓ ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน ๔ ข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับผลประเมิน การทำงานของพนักงาน ๕ การกระตุ้นพนักงานให้ตั้งใจทำงาน
การติดต่อสื่อสารจากล่างขึ้นบนUpward Communication คือ การไหลของข้อมูลข่าวสารจากพนักงานระดับล่างไปสู่พนักงานระดับที่สูงกว่า
การติดต่อสื่อสารจากล่างขึ้นบนUpward Communication ๑ ความก้าวหน้าของโครงการที่รับผิดชอบ ๒ การขอความช่วยเหลือจากผู้บังคับบัญชา ๓ เรื่องที่เกิดขึ้นแล้วมีผลกระทบต่อองค์การ ๔ ข้อเสนอแนะในการทำงานใหม่ๆ ๕ ทัศนคติ ขวัญ และประสิทธิภาพ Management by Wandering Around : (MBWA) คือ การบริหารโดยเดินดูรอบๆ
ช่องทางการติดต่อสื่อสารOrganizational Communication Channels ๒ การติดต่อสื่อสารในแนวนอน (Horizontal Communication) คือการติดต่อสื่อสารระหว่างพนักงานระดับเดียวกัน หรือ หน่วยงานเดียวกัน
ช่องทางการติดต่อสื่อสารOrganizational Communication Channels ๒ การติดต่อสื่อสารในแนวนอน (Horizontal Communication) “เกิดจากการประสานงาน (Coordination), การแก้ปัญหา , การแจ้งข่าวสาร,การช่วยเหลือกันและกัน”
อุปสรรคของการติดต่อสื่อสารในแนวนอนอุปสรรคของการติดต่อสื่อสารในแนวนอน ๑ การแข่งขัน ๒ ความชำนาญเฉพาะอย่าง ๓ การขาดแรงจูงใจ
วิธีการส่งเสริมการติดต่อสื่อสารในแนวนอนวิธีการส่งเสริมการติดต่อสื่อสารในแนวนอน • จัดตั้งคณะกรรมการหรือ หน่วยงานพิเศษ • การใช้โครงสร้าง • Matrix สำหรับการ • ดำเนินงานตามโครงการ • บางอย่าง
การติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นทางการการติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นทางการ The Grapevine ๑ แบบโซ่เส้นเดียว (Single-Strand Chain) ข่าวสารจะถูกส่งไปเป็นทอดๆ ๒ แบบซุบซิบ (Gossip Chain) จากบุคคลหนึ่งไปยังคนอื่นอีกหลายคน
การติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นทางการการติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นทางการ ๓ แบบสุ่ม(Probability Chain) จากบุคคลหนึ่งไปยังคนอื่น โดยไม่ เจาะจง ๔ แบบกลุ่ม(Cluster Chain) จากบุคคลหนึ่งไปยังคนอื่น โดยเลือกว่าจะบอกใคร
ช่องทางการติดต่อสื่อสารในรูปแบบอื่นช่องทางการติดต่อสื่อสารในรูปแบบอื่น ๑ ระบบไปรษณีย์อิเล็กโทรนิกส์ (Electronic Mail or E-Mail System) ๒ การประชุมทางวิดีโอทัศน์ (Video Teleconferencing)