350 likes | 501 Views
พระราชบัญญัติประกันสังคม. พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่ลูกจ้างต่อไปนี้ ข้าราชการและลูกจ้างของทางราชการ ลูกจ้างของรัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศเช่น องค์การยูเนสโก องค์การซีมีโอ เป็นต้น ลูกจ้างของนายจ้างที่มีสำนักงานในประเทศและไปประจำทำงานในต่างประเทศ.
E N D
พระราชบัญญัติประกันสังคมพระราชบัญญัติประกันสังคม
พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่ลูกจ้างต่อไปนี้พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่ลูกจ้างต่อไปนี้ • ข้าราชการและลูกจ้างของทางราชการ • ลูกจ้างของรัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศเช่น องค์การยูเนสโก องค์การซีมีโอ เป็นต้น • ลูกจ้างของนายจ้างที่มีสำนักงานในประเทศและไปประจำทำงานในต่างประเทศ
ครูหรือครูใหญ่โรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนครูหรือครูใหญ่โรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน • นักเรียน นักเรียนพยาบาล นิสิตหรือนักศึกษาหรือแพทย์ฝึกหัด ซึ่งเป็นลูกจ้างของโรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือโรงเรียน • กิจการหรือลูกจ้างอื่นตามที่กำหนดในพระราชกฎษฎีกา
ให้ลูกจ้างต่อไปนี้ไม่เป็นลูกจ้างของพ.ร.บ.ประกันสังคมให้ลูกจ้างต่อไปนี้ไม่เป็นลูกจ้างของพ.ร.บ.ประกันสังคม • ลูกจ้างของสภากาชาดไทย • ลูกจ้างของรัฐวิสาหกิจ ตาม พ.ร.บ.พนังงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์พ.ศ. 2534 • ลูกจ้างของกิจการเพาะปลูก ประมง ป่าไม้ และเลี้ยงสัตว์ซึ่งได้ใช้ลูกจ้างตลอดปี • ลูกจ้างของนายจ้างที่จ้างไว้เพื่อทำงานอันมีลักษณะเป็นครั้งคราวเป็นการจรหรือเป็นไปตามฤดูกาล
ประเภทของผู้ประกันตน แบ่งเป็น 3ประเภท 1. ลูกจ้าง 2. ลูกจ้างที่เคยเป็นผู้กันกันตนมาก่อน 3. ผู้ประกอบอาชีพอิสระและบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ลูกจ้าง
ผู้ประกันตน • ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 คือ ลูกจ้างที่มีอายุ 15 ปีถึง 60 ปีบริบูรณ์หรือลูกจ้างที่เป็นผู้ประกันตนอยู่และอายุเกิน 60 ปี และยังเป็นลูกจ้างอยู่ การเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุด เมื่อ • ตาย • สิ้นสภาพเป็นลูกจ้าง
2. ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 คือ ลูกจ้างที่สิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง และได้จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน ถ้าต้องการเป็นผู้ประกันตนต่อไปให้แสดงความจำนง ภายใน 6 เดือน และให้ส่งเงินสมทบต่อไปเดือนละครั้ง
3. ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 คือ บุคคลอื่นที่ไม่ได้เป็นลูกจ้างมาก่อน แต่สมัครใจเข้ามาเป็นผู้ประกันตน ประโยชน์ทดแทนที่ได้รับ - เจ็บป่วย รับเงินทดแทนการขาดรายได้ - ทุพพลภาพ รับเงินตามระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบ เป็นเวลา 15 ปี • เสียชีวิต ค่าทำศพ 20,000 บาท • บำเหน็จชราภาพ
หน้าที่ของผู้ประกันตนหน้าที่ของผู้ประกันตน • ต้องจ่ายเงินสมทบ • ต้องมีบัตรประกันสังคม • เข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลที่กำหนด • ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ • ต้องให้ข้อมูลถูกต้อง • แจ้งผู้มีสิทธิรับเงินประกันตนกรณีตาย • ให้ความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ในการตรวจตรา
หน้าที่ของนายจ้าง • ขึ้นทะเบียนกองทุนประกันสังคม ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป • แจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงของนายจ้างและผู้ประกันตนภายใน 15 วันของเดือนถัดไป • หักเงินสมทบจากค่าจ้าง ของลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ประกันตน • ออกเงินสมทบในส่วนของนายจ้าง และนำส่งเงินสมทบสำหรับค่าจ้างประจำเดือนที่ต้องนำส่ง ภายใน 15 วันของเดือนถัดไป • จัดทำทะเบียนผู้ประกันตน
ประเภทของการประกันสังคมประเภทของการประกันสังคม • การประกันกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอันมิใช่เนื่องจากการทำงานหรือนอกงาน • การประกันกรณีคลอดบุตร • การประกันกรณีทุพพลภาพ • การประกันกรณีตาย • การประกันกรณีสงเคราะห์บุตร • การประกันกรณีชราภาพ • การประกันกรณีว่างงาน
กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยนอกงานกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยนอกงาน • จ่ายเงินสมทบในส่วนของกรณีเจ็บป่วยหรือประสบอันตรายมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน สิทธิที่ท่านจะได้รับ1. บริการทางการแพทย์ รวมถึงค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษา2. เงินทดแทนการขาดรายได้3. การบำบัดทดแทนไต 4. การปลูกถ่ายไขกระดูก 5. ค่าบริการทางการแพทย์กรณีทันตกรรม
กรณีประสบอุบัติเหตุ- จ่ายเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น ภายใน 72 ชั่วโมง ไม่จำกัดจำนวนครั้ง- ถ้าเข้ารับการรักษา ณ โรงพยาบาลของรัฐ หรือเอกชน จ่ายค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น สำหรับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ภายใน 72 ชั่วโมง โดยไม่กำหนดจำนวนครั้ง
กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน ผู้ป่วยนอก จ่ายให้ปีละไม่เกิน 2 ครั้ง ดังนี้โรงพยาบาลรัฐบาล - ค่ารักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริงไม่เกิน 700 บาท/ครั้ง โรงพยาบาลเอกชน - ค่ารักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริงไม่เกิน 1,000 บาท/ครั้ง
ประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตรประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร • สิทธิจะเกิดเมื่อผู้ประกันตนได้จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า7 เดือนภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนวันรับ 1. ได้รับเงินคลอดบุตรเหมาจ่ายครั้งละ 13,000 บาท 2. ได้รับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นระยะเวลา 90 วัน 3. ได้รับประโยชน์เบิกค่าคลอดบุตรได้ 2 ครั้ง ถ้าสามีและภรรยาเป็นผู้ประกันตนทั้งคู่ ใช้สิทธิเบิกค่าคลอดบุตรได้ 4 ครั้ง
ประโยชน์ทดแทนกรณีตาย • สิทธิจะเกิดเมื่อผู้ประกันตน จ่ายเงินสมทบในส่วนของกรณีตาย มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 เดือนภายในระยะเวลา 6 เดือน ก่อนถึงแก่ความตาย สำนักงานประกันสังคมจ่ายประโยชน์ทดแทน ดังนี้1. ผู้จัดการศพมีสิทธิได้รับค่าทำศพ 40,000 บาท
2. ผู้มีสิทธิจะได้รับเงินสงเคราะห์กรณีตายดังนี้- ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบมาแล้วตั้แต่ 3 ปีขึ้นไปแต่ไม่ถึง 10 ปี ให้ได้รับเงินสงเคราะห์เท่ากับค่าจ้างโดยเฉลี่ยหนึ่งเดือนครึ่ง- ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบมาแล้ว ตั้งแต่ 10 ขึ้นไปให้ได้รับเงินสงเคราะห์เท่ากับค่าจ้างโดยเฉลี่ยห้าเดือน
ผู้มีสิทธิรับเงินสงเคราะห์กรณีที่ผู้ประกันตนถึงแก่ความตาย ได้แก่- บุคคลซึ่งผู้ประกันตนทำหนังสือระบุให้เป็นผู้มีสิทธิรับเงินสงเคราะห์ หากผู้ประกันตนมิได้มีหนังสือระบุไว้ ผู้มีสิทธิรับเงินสงเคราะห์ คือ1. สามีหรือภริยา ที่จดทะเบียนสมรสกับผู้ประกันตน2. บิดา มารดา3. บุตร ชอบด้วยกฏหมายของผู้ประกันตน
ประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพ • สิทธิจะเกิดเมื่อผู้ประกันตน ได้จ่ายเงินสมทบในส่วนของกรณีทุพพลภาพมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 เดือน ระยะเวลา 15 เดือน ก่อนวันที่คณะกรรมการการแพทย์กำหนดให้เป็นผู้ทุพพลภาพ มีสิทธิได้รับค่ารักษาพยาบาลจ่ายเท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเดือนละ 2,000 บาทเงินทดแทนการขาดรายได้ ได้รับในอัตราร้อยละห้าสิบของค่าจ้างตลอดชีวิต
ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพค่าฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่ายกาย จิตใจและอาชีพเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 40,000 บาทต่อร่างกาย ทั้งนี้ให้จ่ายตามประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์อัตราค่าฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ทุพพลภาพค่าทำศพกรณีผู้ประกันตนที่ทุพพลภาพถึงแก่ความตาย ผู้จัดการศพมีสิทธิได้รับค่าทำศพ 40,000 บาท
เงินสงเคราะห์กรณีผู้ประกันตนที่ทุพพลภาพถึงแก่ความตาย ผู้มีสิทธิจะได้รับเงินสงเคราะห์ดังนี้- ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป แต่ไม่ถึง 10 ปี ก่อนเป็นผู้ทุพพลภาพ ให้ได้รับเงินสงเคราะห์เท่ากับค่าจ้างเฉลี่ยหนึ่งเดือนครึ่ง- ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบมาแล้วตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ก่อนเป็นผู้ทุพพลภาพให้ได้รับเงินสงเคราะห์เท่ากับค่าจ้างเฉลี่ยห้าเดือน
กรณีสงเคราะห์บุตร • สิทธิที่ท่านจะได้รับเงินเงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่ายเดือนละ 350 บาท ต่อบุตรหนึ่งคน • เงื่อนไขของบุตรที่ได้รับการสงเคราะห์- เงินสงเคราะห์บุตรสำหรับบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งมีอายุไม่เกิน 6 ปี บริบูรณ์ จำนวนคราวละไม่เกิน 2 คน (บุตร โดยชอบด้วยกฎหมายดังกล่าว ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่น)
ประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ • ประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ ได้แก่ • เงินเลี้ยงชีพรายเดือน เรียกว่า เงินบำนาญชราภาพ • เงินบำเหน็จที่จ่ายให้ครั้งเดียว เรียกว่า เงินบำเหน็จชราภาพ
กรณีเงินบำนาญชราภาพเงื่อนไขการเกิดสิทธิ- จ่ายเงินสบทบไม่น้อยกว่า 180 เดือนไม่ว่าระยะเวลา 180 เดือนจะติดต่อกันหรือไม่ก็ตาม และ- มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ และ- ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง
เงินบำนาญชราภาพ- กรณีจ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือนให้ได้รับเงินบำนาญชราภาพ ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย - จ่ายเงินสมทบเกินกว่า 180 เดือน ให้ปรับเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบ ทุก 12 เดือน
กรณีบำเหน็จชราภาพเงื่อนไขการเกิดสิทธิ- จ่ายเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน และ- ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง และ- มีอายุครบ 55 ปี บริบูรณ์หรือเป็นผู้ทุพพลภาพ หรือถึงแก่ความตาย
กรณีว่างงาน • หลักเกณฑ์ที่จะทำให้ท่านมีสิทธิ คือ จ่ายเงินสมทบในส่วนของกรณีว่างงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนการว่างงานเงื่อนไขการเกิดสิทธิ1. ต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานที่สำนักงานจัดหางานของรัฐ2. มีความสามารถในการทำงาน และพร้อมที่จะทำงานที่เหมาะสมตามที่จัดหาให้3. ต้องไม่ปฏิเสธการฝึกงาน4. ต้องรายงานต่อเจ้าหน้าที่สำนักจัดหางาน ไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง
สิทธิที่ท่านจะได้รับประโยชน์ทดแทน กรณีถูกเลิกจ้าง- ได้รับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 180 วัน (240)ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างกรณีลาออกจากงานกรณีสมัครใจลาออก- ได้รับเงินทดแทนระหว่างการว่างงานปีละไม่เกิน 90 วัน ในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจ้าง
ค่าจ้างที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบของผู้ประกันตนที่มีสภาพเป็นลูกจ้าง กำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ ไม่ต่ำกว่าเดือนละ 1,650 บาท และขั้นสูงสุดไม่เกินเดือนละ 15,000 บาท ตัวอย่าง ลูกจ้างได้ค่าจ้างเดือนละ 20,000 บาท การคำนวณเงินสมทบหรือเงินประกันสังคม คิดจากยอด 15,000 บาทเท่านั้น ลูกจ้างต้องจ่ายเงินสมทบ=15,000x5 = 750 100