290 likes | 648 Views
การประชุมขับเคลื่อนสรุปผลสำเร็จการดำเนินงาน การใช้จ่ายงบประมาณปี 2555 และชี้แจงแผนเงิน เรื่องแผนงาน โครงการและกิจกรรมปี 2556. โดย สำนักกฎหมาย กรมปศุสัตว์. ผลการปฏิบัติงาน ในปีงบประมาณ 2555. ผลการปฏิบัติงาน ในปีงบประมาณ 2555. ยกร่างกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติ จำนวน 6 ฉบับ
E N D
การประชุมขับเคลื่อนสรุปผลสำเร็จการดำเนินงาน การใช้จ่ายงบประมาณปี 2555 และชี้แจงแผนเงิน เรื่องแผนงาน โครงการและกิจกรรมปี 2556 โดย สำนักกฎหมาย กรมปศุสัตว์
ผลการปฏิบัติงาน ในปีงบประมาณ 2555
ผลการปฏิบัติงาน ในปีงบประมาณ 2555 • ยกร่างกฎหมาย • ร่างพระราชบัญญัติ จำนวน 6 ฉบับ 1. ร่างพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. .... 2. ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าเพื่อการจำหน่าย เนื้อสัตว์ พ.ศ. .... 3. ร่างพระราชบัญญัติสถานพยาบาลสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... 4. ร่างพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. .... 5. ร่างพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรมและการจัด สวัสดิภาพสัตว์ พ.ศ. .... 6. ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์พื้นเมือง พ.ศ. .... (ลำดับที่ 1-5 อยู่ระหว่างการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร เป็นวาระเร่งด่วน ลำดับที่ 6 อยู่ระหว่างการพิจารณาเสนอกระทรวงเกษตรฯ)
ผลการปฏิบัติงาน ในปีงบประมาณ 2555 • ยกร่างกฎหมาย • กฎกระทรวง จำนวน 2 ฉบับ • ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำนวน 3 ฉบับ • ระเบียบกรมปศุสัตว์ จำนวน 2 ฉบับ • ประกาศกรมปศุสัตว์ จำนวน 9 ฉบับ • คำสั่งกรมปศุสัตว์ จำนวน 72 ฉบับ • ตรวจร่างสัญญา จำนวน 15 ฉบับ • ตอบข้อหารือปัญหาข้อกฎหมาย จำนวน 15 เรื่อง
ผลการปฏิบัติงาน ในปีงบประมาณ 2555 • การดำเนินคดีปกครอง • กรณีพิพาทเกี่ยวกับหน่วยงานของรัฐออกคำสั่งโดยไม่ชอบ • คำสั่งย้ายข้าราชการ จำนวน 3 คดี • คำสั่งลงโทษไล่ออกจากกราชการ จำนวน 2 คดี • กรณีพิพาทเกี่ยวกับเรียกค่าเสียหาย • สิทธิค่าเช่าบ้าน จำนวน 1 คดี • ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน จำนวน 2 คดี • กรณีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง • เรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน จำนวน 4 คดี • อยู่ระหว่างการบังคับคดี จำนวน 5 คดี
ผลการปฏิบัติงาน ในปีงบประมาณ 2555 การสอบข้อเท็จจริงจำนวน 34 เรื่อง และการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด การดำเนินการเกี่ยวกับสัญญาลาไปศึกษา ฝึกอบรม จำนวน 105 สัญญาปฏิบัติการวิจัยและปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ การดำเนินการตามพระราชบัญญัติ จำนวน 140 เรื่อง ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 การตอบข้อหารือทางกฎหมาย จำนวน 15 เรื่อง
ผลการปฏิบัติงาน ในปีงบประมาณ 2555 การดำเนินคดีแพ่ง จำนวน 14 คดี การดำเนินคดีอาญา จำนวน 2 คดี การบังคับคดี จำนวน 92 คดี การดำเนินคดีล้มละลาย/รวบรวมทรัพย์สินของลูกหนี้ จำนวน 6 เรื่อง /ยึดอายัดทรัพย์สิน การรายงานหนี้สินเกษตรกรตามโครงการของกรมฯ จำนวน 56 ครั้ง การตรวจสอบข้อเท็จจริง จำนวน 15 เรื่อง การตอบข้อหารือทางกฎหมาย จำนวน 21 เรื่อง งานเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน จำนวน 3 เรื่อง การตรวจสัญญา/พัสดุ จำนวน 22 เรื่อง งานเกี่ยวกับการขอใช้ที่ดิน จำนวน 23 เรื่อง
ภาพรวมการดำเนินคดีต่างๆ ในปีงบประมาณ 2555
กิจกรรมและเป้าหมายงบประมาณรายหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
กิจกรรมและเป้าหมายงบประมาณรายหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
กิจกรรมและเป้าหมายการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
กระบวนการดำเนินการทางอาญา ตามพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 นายสุเทพ ยิ้มละมุล ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย กรมปศุสัตว์
พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการดำเนินการทางอาญากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการดำเนินการทางอาญา • ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา • มาตรา 83การแจ้งสิทธิแก่ผู้ถูกจับ • มาตรา 84 การเอาตัวผู้ถูกจับไปยังพนักงานสอบสวน • มาตรา 120 พนักงานอัยการยื่นฟ้องคดีต่อเมื่อได้มีการสอบสวน • ประมวลกฎหมายอาญา • มาตรา 32 ทรัพย์ที่ทำหรือมีไว้เป็นความผิด ให้ริบเสียทั้งสิ้น • มาตรา 33 (1) ทรัพย์ที่ได้ใช้หรือมีไว้ในการกระทำความผิด • มาตรา 33 (2) ทรัพย์ที่ได้มาโดยได้กระทำความผิด
ขั้นตอนการดำเนินการทางอาญาตามพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 ชั้นจับกุม ชั้นสอบสวนฯ* ชั้นอัยการและศาล ส่งพนักงานสอบสวน** สั่งฟ้องจำเลย เมื่อมูลคดีเกิด กล่าวคือ มีการกระทำความผิดตามพรบ.โรคระบาดสัตว์ฯ สอบสวนพยาน*** สืบพยานหลักฐาน จับกุมผู้กระทำผิด** สั่งฟ้องผู้ต้องหา ศาลพิพากษา
เมื่อความผิดเกิดขึ้น!!!เมื่อความผิดเกิดขึ้น!!! (กรณีศึกษา) เคลื่อนย้ายสัตว์เข้าเขตสงสัยว่าเป็นโรคระบาดโดยไม่ได้รับอนุญาต จากสัตวแพทย์ตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ฯ
ชั้นเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ชั้นเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ ผู้มีอำนาจจับกุม “สารวัตรของกรมปศุสัตว์” มีอำนาจจับกุมผู้กระทำความผิด และ มีอำนาจยึดสัตว์ และซากสัตว์ หรือ สิ่งของใดๆ ที่เกี่ยวกับความผิดตามพรบ.นี้ เพื่อส่งพนักงานสอบสวนดำเนินการต่อไป ตามมาตรา 38 ตามพรบ.โรคระบาดสัตว์ฯ ขั้นตอนการปฏิบัติ • แจ้งแก่ผู้ถูกจับว่าเขาต้องถูกจับ และสั่งให้ผู้ถูกจับไปยังที่ทำการของพนักงานสอบสวน • แจ้งข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกจับทราบ • ผู้ถูกจับมีสิทธิที่จะไม่ให้การหรือให้การก็ได้ • ผู้ถูกจับมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนายความ • จัดทำบันทึกการจับกุม • นำตัวผู้ถูกจับไปยังที่ทำการของพนักงานสอบสวนโดยทันที และนำสัตว์หรือสิ่งของเพื่อส่งตัวผู้ถูกจับให้แก่ตำรวจ ผลของการฝ่าฝืน** ห้ามมิให้รับฟังถ้อยคำของผู้ถูกจับเป็นพยานหลักฐาน
ชั้นเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ ผู้มีอำนาจร้องทุกข์ • สารวัตรของกรมปศุสัตว์ • บุคคลที่ได้รับมอบอำนาจร้องทุกข์ จากผู้มีอำนาจ ผู้มีอำนาจเรียกตรวจ/เข้าไป “สัตวแพทย์” มีอำนาจเรียกตรวจยานพาหนะ เข้าไปในอาคารสถานที่อื่นใด เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคระบาด หรือพาหะของโรคระบาด ตามมาตรา 29 เงื่อนไข • เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคระบาด หรือพาหะของโรคระบาด • กระทำระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้น และพระอาทิตย์ตก
ชั้นกระบวนการยุติธรรม ชั้นพนักงานสอบสวน ทำการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานเป็นสำนวนคดี พร้อมกับความเห็นมายังพนักงานอัยการเพื่อฟ้องคดีต่อไป ชั้นพนักงานอัยการ เมื่อพนักงานสอบสวนส่งเรื่องมายังพนักงานอัยการแล้ว พนักงานอัยการ จะพิจารณาและสั่งคดีว่า เห็นควรสั่งฟ้อง หรือสั่งไม่ฟ้อง ชั้นศาล ให้การรับสารภาพ/สืบพยานหลักฐาน พิพากษาตัดสินคดีตามพยานหลักฐานและข้อกฎหมาย
กรณีศึกษา คดีดำหมายเลขที่ 2065/2554, คดีแดงหมายเลขที่ 2400/2554 เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2554 เวลากลางคืนหลังเที่ยง จำเลยได้นำสุนัข จำนวน 300 ตัว บรรทุกมา ในรถบรรทุก 6 ล้อ เพื่อเคลื่อนย้ายไปยังประเทศเวียดนาม ผ่านจังหวัดนครพนม ซึ่งเป็นเขตสงสัยว่ามี โรคระบาดชนิดพิษสุนัขบ้า ทั้งนี้ โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือ จากสัตวแพทย์ ข้อเท็จจริง
อัยการสั่งฟ้อง ในข้อหา... กรณีศึกษา • เคลื่อนย้ายสุนัขเข้าเขตสงสัยว่ามีโรคระบาดโดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือ จากสัตวแพทย์ (มาตรา...) • กระทำการค้าสุนัข โดยไม่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน • เป็นผู้ครอบครองสัตว์ (สุนัข) ไม่จัดการให้สัตว์ควบคุมได้รับการฉีดวัคซีนจาก สัตวแพทย์ • ทำการทารุณต่อสุนัข โดยนำสุนัขดังกล่าวกักขังในกรงเหล็ก สุนัขอยู่รวมกันในกรงซึ่งมีสภาพแออัดยัดเหยียด ซึ่งทำให้สุนัขได้รับการทารุณทุกขเวทนาอันไม่จำเป็น การกระทำดังกล่าวเป็นเหตุให้สุนัขบางส่วนตาย อันเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย • รถบรรทุก 6 ล้อ และกรงสำหรับขังสุนัข ซึ่งเป็นทรัพย์ที่ได้ใช้ในการกระทำความผิดเคลื่อนย้ายสัตว์ เพื่อค้าสัตว์และทารุณสัตว์ เป็นของกลาง
กรณีศึกษา ศาลจังหวัดนครพนมพิพากษาว่า... จำเลยมีความผิดตามฟ้องเป็นความผิดหลายกรรม ลงโทษทุกรรม ตาม ปอ. มาตร 91 ฐานค้าสัตว์ (สุนัข) โดยไม่ได้รับอนุญาตจำคุก 4 เดือน ฐานเคลื่อนย้ายสัตว์ (สุนัข) โดยไม่ได้รับอนุญาต จำคุก 4 เดือน ฐานกระทำทารุณสัตว์ (สุนัข) โดยฝ่าฝืนตัวกฎหมาย จำคุก 10 วัน ฐานครอบครองสัตว์ (สุนัข) ไม่จัดการให้สัตว์ได้รับการฉีดวัคซีนฯ ปรับตัวละ 40 บาท รวม 300 ตัว เป็นเงิน 12,000 บาท ฐานปฏิบัติหน้าที่ผู้ประจำรถโดยไม่ได้รับอนุญาต ปรับ 2,000 บาท รวมลงโทษจำคุก 8 เดือน 10 วัน ปรับ 14,000 บาท รับลดครึ่งหนึ่ง ตามมาตรา 78 คงจำคุก 4 เดือน 5 วัน ปรับ 7,000 บาท เห็นว่าการกระทำของจำเลยนั้น เป็นการกระทำลักษณะเชิงธุรกิจการค้าในรูปของขบวนการ ซึ่งกระทำอย่างต่อเนื่องและเป็นการลำเลียงขนย้ายสัตว์ (สุนัข) ในลักษณะทารุณโหดร้าย โดยพึ่งหวังผลประโยชน์ของตนเองฝ่ายเดียว ไม่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม แม้จะอ้างว่า ได้กระทำเพื่อหาเลี้ยงคนในครอบครัวก็มิใช่เหตุที่จะรอการลงโทษจำคุก ส่วนรถยนต์บรรทุกและกรงขังสุนัขของกลางนั้น ถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินซึ่งได้ในการกระทำความผิดคดีนี้ จึงให้ริบตามปอ.มาตรา 33(1) ถ้าไม่ชำระค่าปรับให้จัดการตามปอ. มาตรา 29,30