240 likes | 1.38k Views
CQI งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเกษตรวิสัย. เรื่อง การติดแถบสีและเปลี่ยน IV Fluid. วิสัยทัศน์ของหน่วยงาน งานผู้ป่วยในมุ่งมั่นให้บริการอย่างมีคุณภาพ ประชาชนเกิดความพึงพอใจสูงสุด ภายใต้มาตรฐานแห่งวิชาชีพ. พันธกิจของหน่วยงาน 1. จัดระบบบริการให้เอื้อต่อการบริการ
E N D
CQI งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเกษตรวิสัย เรื่อง การติดแถบสีและเปลี่ยน IV Fluid วิสัยทัศน์ของหน่วยงาน งานผู้ป่วยในมุ่งมั่นให้บริการอย่างมีคุณภาพ ประชาชนเกิดความพึงพอใจสูงสุด ภายใต้มาตรฐานแห่งวิชาชีพ พันธกิจของหน่วยงาน 1. จัดระบบบริการให้เอื้อต่อการบริการ 2. จัดทำมาตรฐานเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพ 3. พัฒนาบุคลากร ให้มีความรู้ก้าวทันเทคโนโลยีใหม่และสารสนเทศการทำวิจัย 4. ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน
หน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงาน ให้บริการผู้ป่วยที่ต้องนอนพักรักษาในโรงพยาบาลทั้งด้านอายุรกรรม ศัลยกรรม กุมารเวชกรรม สูติ – นรีเวชกรรม และทันตกรรม วัตถุประสงค์ของการจัดทำผลงาน พัฒนาระบบงาน / นวตกรรม เพื่อให้ผู้รับบริการที่ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ ไม่เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ จากการให้สารน้ำเป็นเวลานาน ตัวชี้วัดของการทำเรื่องนี้ ก่อนทำ การอักเสบของหลอดเลือดดำจากการให้สารน้ำ = 0.20 : 1000 วันนอน หลังทำ การอักเสบของหลอดเลือดดำจากการให้สารน้ำ = 0 : 1000 วันนอน
โอกาสพัฒนา ใช้วิธี Multi – voting sytem โดยให้สมาชิกในทีมเลือกโอกาสพัฒนาที่คิดว่าควรนำมาทำกิจกรรม CQI มาคนละ 4 กิจกรรม แล้วเลือกกิจกรรมที่ได้คะแนนสูงสุด การคัดเลือกโอกาศพัฒนา
หมายเหตุ โอกาสพัฒนาที่สมาชิกเลือก เป็น โอกาสพัฒนาที่ • สำคัญต่อลูกค้า • ผู้บริหารให้ความสำคัญสูง • รุนแรงระดับ 3, 4 • มีโอกาสทำสำเร็จมาก
ไม่ได้นำแถบสีไปด้วย จำสีของแต่ละวันไม่ได้ ลืมติดแถบสี พยาบาลผู้รับใหม่ ไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการติดแถบสีและเปลี่ยน IVสีรุ้ง แถบสีหมด ไม่มีแถบสีให้ติด ไม่ได้เตรียมแถบสีใส่รถ IV ผู้ป่วยจำนวนมาก พยาบาล ไม่มีเวลาติดแถบสีและเปลี่ยน IV สีรุ้ง พยาบาลมีหน้าที่รับผิดชอบมาก (Work Load) พยาบาลผู้ดูแล Total Case ผู้ป่วยหาเส้นยาก พยาบาลไม่ต้องการ เปลี่ยน IV สีรุ้ง ผู้ป่วยเจ็บไม่ต้องการให้เปลี่ยน IV ใหม่ ทำความเข้าใจระบบ Flow Chart /การวิเคราะห์ระบบการทำงาน
ประเมินสถานการณ์ “ …การติดและการเปลี่ยน IV สีรุ้ง …ก่อนปรับปรุง
จากตารางข้างต้น สรุปว่า ควรเลือกแก้สาเหตุ “ …การติดและการเปลี่ยน IV สีรุ้ง...”
Criteria weighting สรุปว่า เราจะแก้ปัญหา “………การไม่ติดและเปลี่ยน IV สีรุ้ง…” โดย “…มอบหมายงานแบบ …Total Case…” “…หัวหน้าเวรนิเทศติดตาม…”
ทดสอบการใช้ทางเลือกและเก็บข้อมูลเดือน ธันวาคม 2548 • วัดผลว่าทางเลือกที่นำมาใช้แล้วดีขึ้นกว่าที่เคยจัดไว้หรือไม่ รายละเอียดของข้อมูลการติดและเปลี่ยน IV สีรุ้ง • ปรับปรุง (ปรับปรุง บกพร่อง, ทางเลือกที่มีขึ้น)
จุดบกพร่อง • พยาบาลผู้รับใหม่ไม่ติดแถบ IV สีรุ้งจำนวน 52 ราย = 6.29% และติดผิด จำนวน 22 ราย = 1.33% • พยาบาลผู้ดูแล Total Case ไม่ติดแถบ IV สีรุ้ง จำนวน 48 ราย = 5.80% และติดผิด จำนวน 17 ราย = 2.06%
ประเด็นที่ต้องทำต่อ - พยาบาลผู้รับใหม่และพยาบาลผู้ดูแล Total Case มีการติดแถบสี และเปลี่ยน IV สีรุ้ง เมื่อครบ 48 ชม. ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน - ปฏิบัติตาม PR ของการติดแถบสีและเปลี่ยน IV สีรุ้ง อย่างเคร่งครัด - จัดเตรียมแถบสีไว้ในรถให้ IV อย่างเพียงพอและพร้อมใช้ - อธิบายเหตุผลของการเปลี่ยน IV สีรุ้งให้ผู้ป่วยรับทราบ - หัวหน้าเวรมีการนิเทศติดตามการติดและเปลี่ยน IV สีรุ้งทุกเวร (เวรเช้า – บ่าย – ดึก) - หัวหน้างานผู้ป่วยในมีการประเมินผลการปฏิบัติในรอบ 1 เดือน - เก็บรายงานประจำเดือนของผู้ป่วยที่มีการอักเสบจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ในรอบ 1 เดือน (เกณฑ์ 0 : 1000 วันคา)