150 likes | 276 Views
บทที่5 ระบบข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร ปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กร. นางสาว นันท นิจ สุขยิรัญ เลขที่44 ม.6/1 โรงเรียนส วีวิทยา. ถัดไป. ปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กร การจดทะเบียนชื่อโดเมน ( Domain Name ). ย้อนกลับ. ถัดไป. การจดทะเบียนชื่อโดเมน
E N D
บทที่5 ระบบข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กร นางสาวนันทนิจ สุขยิรัญ เลขที่44 ม.6/1 โรงเรียนสวีวิทยา ถัดไป
ปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กรปัจจัยเริ่มต้นในการตั้งอินเทอร์เน็ตองค์กร การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name) ย้อนกลับ ถัดไป
การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name) ทะเบียนชื่อโดเมนมีไว้เพื่อใช้อ้างอิงถึงกันในระบบเครือข่ายเช่นใช้เป็นชื่อองค์กร tv5.co.th โดยจากขวามือสุด "th" คือ "ชื่อประเทศ" ถัดไป "co" คือ "ประเภทขององค์กร"และ "tv5" คือ "ชื่อองค์กร"เมื่อมี "วงจรเช่าสายสื่อสาร" "หมายเลขแอดเดรส" (IP Address) และ "ชื่อโดเมน (Domain Name)" แล้วก็สามารถสร้างโหนด (Node) หรือเครือข่ายในองค์กรได้เช่นโรงเรียนแห่งหนึ่งต้องการเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่าย Schoolnet ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ตก็ต้องดำเนินการให้ได้หมายเลข IP และชื่อโดเมนก่อน ย้อนกลับ ถัดไป
หลักการจดชื่อโดเมน ชื่อโดเมนต้องมีความยาว ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอักษร และไม่มากกว่า 64 ตัวอักษร เมื่อไม่รวมนามสกุล • สามารถใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข และเครื่องหมาย - (ขีดกลาง) ได้เท่านั้น • ต้องขึ้นต้นและลงท้ายด้วย ตัวอักษรภาษาอังกฤษ หรือ ตัวเลขเท่านั้น • ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่ มีค่าเท่ากัน (A = a) • ตัวอย่างชื่อโดเมนที่ถูกต้อง คือ a-b-c-d.net, abc123.com • ตัวอย่างชื่อโดเมนที่ไม่ถูกต้อง คือ -a-b.com, a--b.org, ab-.com ย้อนกลับ ถัดไป
ราคาของชื่อโดเมนแต่ละนามสกุล (สำหรับการจดชื่อโดเมน 1 ชื่อ เป็นเวลา 1 ปี).com / .net / .org / .biz / .info = 450 บาท • .ws = 450 บาท (ชื่อโดเมนต้องมีความยาวอย่างน้อย 4 ตัวอักษร) • .th = 1,000 บาท (จำเป็นต้องใช้เอกสารในการจดทะเบียน ) • .name = 500 บาท • .cc = 1,200 บาท • .tv = 1,300 บาท • .in = 750 บาท • .cn / .com.cn / .net.cn / .org.cn = 700 บาท • .tw = 1,400 บาท • .mobi = 900 บาท ย้อนกลับ ถัดไป
สิทธิพิเศษ ใช้งานได้ฟรีทันที เมื่อจดโดเมน • (สำหรับผู้ที่ไม่ต้องการใช้บริการเว็บโฮสติ้ง) • ระบบจัดการ DNS Zone สามารถแก้ไข A/MX/NS/CNAME Record ได้ • URL Forwarding (Redirect), E-Mail Forwarding • โดเมนที่จดกับทางเรา สามารถนำไปลงทะเบียนเป็น DNS ได้ทันที (เช่น nsXX.yourdomain.com) ย้อนกลับ ถัดไป
ความปลอดภัย และ ความเป็นส่วนตัว • การติดต่อกับทางเราในกรณีที่เกี่ยวข้องกับชื่อโดเมน จะต้องติดต่อโดยใช้อีเมลของ Administrator ของโดเมนเท่านั้น • โดเมนที่จดทะเบียนใหม่ หรือย้ายมาที่เรา ทางเราจะทำการ Lock โดเมนของท่านไว้เพื่อความปลอดภัย ซึ่งจะมีผลทำให้ • 1.) ไม่สามารถแก้ไขข้อมูล DNS ได้ (ยกเว้นลูกค้าที่จดชื่อโดเมนหลังวันที่ 15/12/2549 สามารถ Login เพื่อแก้ไข DNS ได้ทันทีโดยไม่ต้องแจ้งให้ทางเรา Unlock) • 2.) ไม่สามารถแก้ไขชื่อ Registrant ได้ • 3.) ไม่สามารถย้าย Registrar ได้ • 4.) ไม่สามารถนำชื่อโดเมนไปจดทะเบียนใหม่ได้ จนกว่าชื่อโดเมนจะหมดอายุและเลยระยะเวลาสำหรับ renew ไปแล้ว ย้อนกลับ ถัดไป
ทั้งนี้ หากท่านต้องการให้ทางเรา Unlock ชื่อโดเมน สามารถส่งอีเมลแจ้งเพื่อทำการ Unlock ได้ทันที • ชื่อโดเมนนามสกุล .th จะไม่สามารถแก้ไขข้อมูลโดเมนได้เองผ่านหน้าเว็บ เจ้าของโดเมนจะต้องใช้อีเมลของ Administrator ของโดเมน ส่งอีเมลมาที่ทางเราเพื่อแก้ไขข้อมูลโดเมนเท่านั้น ย้อนกลับ ถัดไป
การย้าย / ต่ออายุ ชื่อโดเมน • หากท่านต้องการย้ายชื่อโดเมนมาใช้บริการกับทางเรา หรือต้องการต่ออายุชื่อโดเมนที่ใกล้จะหมดอายุแล้ว สามารถดำเนินการย้าย และต่ออายุ กับทางเราได้ทันที โดยจะเสียค่าบริการเท่ากับการจดชื่อโดเมนใหม่ และสามารถแจ้งชื่อโดเมนที่ต้องการย้าย หรือ ต่ออายุ ได้โดยตรงที่ MSN หรืออีเมล (ควรย้ายโดเมนก่อนวันหมดอายุอย่างน้อย 15 วัน และการย้ายชื่อโดเมน จะได้รับการต่ออายุเป็นเวลา 1 ปีทันที เมื่อการย้ายสำเร็จแล้ว) • ILCT: ข้อควรระวังในการจดทะเบียนชื่อโดเมน • การจดทะเบียนชื่อโดเมน ปัจจุบันมีการจดทะเบียนชื่อโดเมนอยู่ 3 ประเภทครับ คือ 1) การจดทะเบียนชื่อโดเมนระดับสากล (.com .org .net) 2) การจดทะเบียนชื่อโดเมนระดับประเทศ (.co.th ในส่วนของประเทศไทย) และ 3) การจดทะเบียนชื่อโดเมนเป็นภาษาท้องถิ่น (.คอม) ซึ่งไม่ว่าจะเป็นการจดชื่อโดเมนประเภทใด ก็จะมีบุคคลที่เกี่ยวข้องอยู่ 4 ฝ่ายคือ ย้อนกลับ ถัดไป
1) ผู้จดทะเบียนชื่อโดเมน (Registrant) ในทางกฎหมายก็คือเจ้าของสิทธิในชื่อโดเมนซึ่งโดยปกติก็คือ เจ้าของชื่อทางการค้าหรือบริษัท นั่นเองครับ เช่น บริษัทไมโครซอฟท์ก็จะจดชื่อโดเมนว่า microsoft.com บริษัทไมโครซอฟท์ก็จะเป็น Registrant เป็นต้น • 2) ผู้ติดต่อประสานงานด้านการบริหารจัดการ (Administrative Contact) บุคคลนี้จะติดต่อกับนายทะเบียนที่รับจดทะเบียนชื่อโดเมนซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากหน่วยงาน ICANN ที่ดูแลเรื่องการจัดสรรชื่อโดเมน Administrative Contact เป็นบุคคลที่มีความสำคัญมากที่สุดในการจดทะเบียนชื่อโดเมนครับ เพราะการโอนสิทธิในชื่อโดเมน การแก้ไขเปลี่ยนแปลงที่อยู่ของเจ้าของ (Address) หรือที่อยู่บนอินเตอร์เน็ต (IP Address) หรือรายละเอียดอื่นๆ ทั้งหมด จะต้องทำโดย Administrative Contact เท่านั้น ซึ่งโดยปกติคอมพิวเตอร์ของนายทะเบียนผู้รับจดทะเบียนชื่อโดเมนจะดำเนินการโอนชื่อโดเมน หรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อโดเมนโดยอัตโนมัติทันทีที่คำสั่งโอนหรือเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมาจาก E-mail Address ที่ Administrative Contact ให้ไว้กับนายทะเบียนผู้รับจดทะเบียนตั้งแต่ต้น ย้อนกลับ ถัดไป
3) ผู้ติดต่อประสานงานด้านการเงิน (Billing Contact) จะทำหน้าที่รับผิดชอบในเรื่องการชำระเงินค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนชื่อโดเมน หรือต่ออายุชื่อโดเมน • 4) ผู้ที่ติดต่อประสานงานทางด้านเทคนิค (Technical Contact) จะทำหน้าที่รับผิดชอบทางด้านเทคนิค เช่น ที่อยู่บนอินเตอร์เน็ต ปัญหาทางด้านเทคนิคต่างๆ • จากที่กล่าวมาข้างต้นท่านผู้อ่านก็จะเห็นได้ว่า บุคคลที่มีความสำคัญมากที่สุดก็คือ Administrative Contact นั่นเอง เพราะเป็นผู้ที่กำหนดได้ว่า บุคคลใดจะเป็นเจ้าของชื่อโดเมน รวมถึงกำหนดรายละเอียดต่างๆ ของชื่อโดเมน • ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ ผู้ประกอบการในธุรกิจดอทคอมส่วนใหญ่ มักเชื่อใจให้ Web Master หรือลูกจ้างในองค์กรของตนเป็น Administrative Contact และเมื่อบุคคลดังกล่าวลาออกไปก็มิได้มีการทำโอนชื่อโดเมนกลับคืนมา หรือในบางกรณีไม่มีการทำสัญญากันไว้อย่างชัดเจนแน่นอน ลูกจ้างจึงอ้างว่าชื่อโดเมนดังกล่าวเป็นของตน และขายให้แก่บุคคลภายนอก หรือบางบริษัทอาจจะว่าจ้างนายหน้าหรือ Broker ที่รับจดทะเบียนชื่อโดเมน ซึ่งไม่ใช่นายทะเบียนที่แท้จริงไปจดทะเบียนชื่อโดเมนดังกล่าวไว้ ภายหลังพอชื่อโดเมนดังกล่าวมีชื่อเสียงแพร่หลายและมีมูลค่ามากขึ้น นายหน้าดังกล่าวก็จะนำมาขายคืนแก่เจ้าของกิจการที่ว่าจ้างให้จดทะเบียน ย้อนกลับ ถัดไป
วิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวที่จะแนะนำในที่นี้มี 4 วิธีคือ 1. ท่านผู้ประกอบการ E-Commerce ทุกท่าน ควรตรวจสอบรายละเอียดการจดทะเบียนชื่อโดเมนว่า ชื่อโดเมนของท่านในปัจจุบันบุคคลใดมีชื่อเป็น Registrant และ Administrative Contact หากบุคคลนั้นเป็นลูกจ้าง Web Master ในองค์กรท่านหรือนายหน้าที่รับจดทะเบียนก็ควรเปลี่ยนแปลงมาเป็นตัวท่านเอง หรือให้บุคคลที่เชื่อถือให้เป็นผู้ดูแล หรืออาจมีการเซ็นสัญญาจ้างแรงงานหรือสัญญาโอนชื่อโดเมนกับลูกจ้างดังกล่าวไว้เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง (โดยท่านสามารถเช็ครายละเอียดของการจดทะเบียนชื่อโดเมนของท่านได้ผ่านทางเว็บไซท์ www.register.com หรือ www.betterwhois.com) 2. หากจำเป็นต้องใช้ บุคคลภายนอกเป็น Administrative Contact ท่านควรส่งจดหมายเป็นลายลักษณ์อักษรไปที่นายทะเบียนที่รับจดทะเบียนชื่อโดเมนของท่านว่า ท่านเป็นเจ้าของที่ถูกต้องแท้จริง ดังนั้น หากมีการโอนชื่อโดเมนหรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดใดๆ ในชื่อโดเมน ท่านจะยืนยันการเปลี่ยนแปลงโดยการส่งจดหมายที่มีลายมือชื่อของท่านเป็นลายลักษณ์อักษรทุกครั้งจึงจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ ย้อนกลับ ถัดไป
3.อาจใช้มาตรการทางเทคนิคเข้าช่วย คือ ใช้ระบบรักษาความปลอดภัย โดยใช้การเข้ารหัสลายมือชื่อแบบ Encryption หรือ PGP ซึ่งตอนจดทะเบียนชื่อโดเมนนั้นจะมีให้เลือกอยู่แล้วในเว็บไซท์ โดยท่านเป็นผู้เก็บรักษารหัสดังกล่าวไว้แต่เพียงผู้เดียว หากไม่มีรหัสก็ไม่สามารถโอนหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ หรือ 4. ในกรณีที่ Administrative Contact นำชื่อโดเมนของท่านไปขาย หรือโอนโดยไม่ได้รับอนุญาต ท่านก็อาจแจ้งความดำเนินคดีในทางแพ่ง เพื่อเรียกร้องค่าเสียหาย หรือขอชื่อโดเมนคืนได้ ในส่วนคดีอาญานั้น ท่านอาจดำเนินคดีในความผิดฐานยักยอกทรัพย์กับ Administrative Contact ดังกล่าวได้ อย่างไรก็ตาม ก็คงต้องพิจารณาข้อเท็จจริงเป็นกรณีๆ ไปหรือปรึกษาทนายความผู้เชี่ยวชาญครับ ว่าการดำเนินคดีในรูปแบบใด จึงจะดีที่สุด ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันธุรกิจของท่านจากปัญหาดังกล่าว ผมแนะนำว่า ท่านผู้ประกอบการทุกท่านควรรีบดำเนินการตรวจสอบรายละเอียดของการจดทะเบียนชื่อโดเมนขององค์กรท่านโดยเร็วครับ ก่อนที่ปัญหาดังกล่าวจะสายเกินแก้ ย้อนกลับ ถัดไป
การจดทะเบียนชื่อโดเมนการจดทะเบียนชื่อโดเมน ย้อนกลับ ถัดไป
จบแล้วจ้า... ย้อนกลับ