1 / 41

การบริการดูแลรักษาเอชไอวี ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ

การบริการดูแลรักษาเอชไอวี ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ. การประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนสถานการณ์การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ. 15 สิหาคม 2556 โรงแรมบางกอกชฏา. Global Fund : AIDS CARES. ROUND I : 2547 - 2551. Rolling Continuation Chanel : 2552 - 2554.

armand
Download Presentation

การบริการดูแลรักษาเอชไอวี ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริการดูแลรักษาเอชไอวีการบริการดูแลรักษาเอชไอวี ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ การประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนสถานการณ์การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในกลุ่มประชากรข้ามชาติ 15 สิหาคม 2556 โรงแรมบางกอกชฏา

  2. Global Fund : AIDS CARES ROUND I : 2547 - 2551 Rolling Continuation Chanel : 2552 - 2554 Single Stream Funding : 2555 - 2557

  3. กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่อยู่นอกสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพต่างๆ และกลุ่มทีเข้าถึงยาก ปี 2556 จำนวน 2,700 ราย • ระยะเวลาการดำเนินงาน SSF คือ ระยะเวลา 3 ปี พ.ศ. 2555-2557 ขณะนี้อยู่ในช่วงปีที่ 10 (1 ตุลาคม 2555 – 30 กันยายน 2556)

  4. โครงการหลัก

  5. NAPHA EXTENSION

  6. กลุ่มเป้าหมาย • กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่อยู่นอกสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพต่างๆ ทั้งกลุ่มที่เคยและไม่เคยรับยาต้านไวรัส จำนวน 2,700 ราย ได้แก่กลุ่มคนไทยที่รอพิสูจน์สิทธิ กลุ่มคนไทยพลัดถิ่น กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มแรงงานข้ามชาติทั้งที่มีและไม่มีหลักประกันสุขภาพ กลุ่มผู้อพยพด้วยสาเหตุต่างๆ กลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจำ เป็นต้น

  7. NAPHA EXTENSION • การเข้าถึงบริการสุขภาพ เพื่อการป้องกัน ควบคุมโรค • ลดอัตราการตายและอัตราการเจ็บป่วยที่เกี่ยวกับเอชไอวีและเอดส์ โดยเพิ่มการเข้าถึงการรักษาด้วยยาต้านไวรัส และขยายการดูแลแบบครบถ้วนและการสนับสนุนด้านสังคมอย่างยั่งยืน

  8. การพัฒนาการบริการNAPHA EXTENSION • การพัฒนาระบบบริการ • การให้บริการยาต้านไวรัส • การให้บริการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • การพัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูล • การติดตามผลการดำเนินงาน การนิเทศงาน • การสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย

  9. ข้อกำหนดทั่วไปสำหรับการคัดกรองผู้ป่วยเข้าโครงการ

  10. คุณสมบัติสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการฯคุณสมบัติสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการฯ

  11. เกณฑ์การเริ่มการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเกณฑ์การเริ่มการรักษาด้วยยาต้านไวรัส

  12. Anti-retroviral for (NAPHA EXTENSION) )

  13. การให้บริการทางห้องปฏิบัติการการให้บริการทางห้องปฏิบัติการ

  14. Service Package for ARV

  15. Service Package for Laboratory

  16. เปรียบเทียบราคายาต้านไวรัสเปรียบเทียบราคายาต้านไวรัส • หมายเหตุ: • ราคาที่กองทุนโลกกำหนดใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ 30 บาทต่อเหรียญสหรัฐ • ราคาที่จัดซื้อในประเทศไทย รวมค่าบริหารจัดการในการนำเข้ายา, ค่าจัดเก็บและกระจาย • * ราคาอ้างอิงจากองค์การเภสัชกรรม • ** ราคาอ้างอิงการจัดซื้อในประเทศไทยครั้งสุดท้าย

  17. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ

  18. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ • แผ่นพับ 3 ภาษา “คุยกันเรื่องเอดส์” ภาษาไทย พม่า กัมพูชา (1 ชุด มี 4 แบบ)

  19. แผ่นพับ 3 ภาษา “คุยกันเรื่องเอดส์” ภาษาไทย(กางออก)

  20. ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ(ต่อ)ตัวอย่างสื่อและสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนภายใต้โครงการฯ(ต่อ) • แผ่นพับ 2 ภาษา “ ปกป้องตัวคุณ คู่ของคุณ และครอบครัวของคุณด้วยการป้องกันเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (แผ่นพับคุณทำได้ ภาษาพม่า และ ภาษากัมพูชา)

  21. แผ่นพับ 3 ภาษา “คุยกันเรื่องเอดส์” พม่า (กางออก)

  22. สื่อประกอบการให้การปรึกษา เรื่อง “ การลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ ”

  23. ชุดความรู้การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้โรคโดยตรง

  24. หนังสือมาตราฐานกรมควบคุมโรค ด้านโรคเอดส์สำหรับสถานบริกรสาธารณสุข พ.ศ. 2554

  25. คุยกันเรื่องเอดส์

  26. โครงการส่งเสริมการเข้าถึงการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้ายและกลุ่มเข้าถึงยาก(Mobile Population VCT )

  27. MPVCT 2549 ACCESS TO VCT 2551 โครงการส่งเสริมการเข้าถึงการปรึกษาและการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้ายและกลุ่มเข้าถึงยาก 2552 - 2557 เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี

  28. Objective : สร้างและผลักดันกลไกการทำงานในบริบทของพื้นที่ รวมถึงพัฒนากลวิธีการจัดระบบบริการในกลุ่มประชากรเป้าหมาย : ส่งเสริมการเข้าถึงบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้าย กลุ่มเข้าถึงยากและกลุ่มที่มีข้อจำกัด รวมถึงประชาชนทั่วไป ให้สามารถเข้าถึงบริการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีเพื่อการป้องกัน การดูแลรักษา และการส่งต่อรับบริการสวัสดิการต่างๆที่เหมาะสม

  29. เป้าหมาย หน่วยบริการสุขภาพที่เข้าร่วมโครงการได้มีการปรับระบบบริการ ฯ จากแบบตั้งรับไปสู่การบริการเชิงรุกทั้งภายในและภายนอกหน่วยบริการสุขภาพมากขึ้นเกิดการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินการส่งเสริม ฯรวมถึงการจัดรูปแบบบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับการระบาดของเชื้อและบริบทของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละพื้นที่ กลุ่มเป้าหมายที่มีกลไกการส่งเสริมการเข้าถึงบริการปรึกษา ฯ 1. กลุ่มประชากรเคลื่อนย้าย ทั้งคนไทยและต่างด้าว เช่น แรงงานไทยทำงานเคลื่อนย้าย แรงงานไทยที่ห่างสิทธิ แรงงานต่างด้าว กลุ่มประมง เป็นต้น 2. กลุ่มที่เข้าถึงยาก อาทิ กลุ่มที่มีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการด้วยสาเหตุต่าง ๆ จากถิ่นที่อยู่ การประกอบอาชีพ ฯลฯ เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ต้องขัง กลุ่มผู้ใช้ยา และกลุ่มพนักงานบริการ วัยรุ่น / MSM และ กลุ่ม VCT เมือง

  30. Main Act - MPVCT • ถอดบทเรียนปัจจัยสู่ความสำเร็จของการส่งเสริมการเข้าถึงการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ จากประสพการณ์ของหน่วยงานร่วมดำเนินงานในพื้นที่ระหว่างปี 2553-2555 โดยกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ บุคลากรจากหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 46 แห่ง บุคลากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานป้องกันควบคุมโรค 12 เขต และกรุงเทพมหานคร • สนับสนุนงบประมาณสำนักงานป้องกันควบคุมโรค และกรุงเทพมหานคร ในการถ่ายทอดรูปแบบการส่งเสริมการเข้าถึงการปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเคลื่อนย้ายและกลุ่มเข้าถึงยาก จากหน่วยงานที่เป็นต้นแบบระดับเขต สู่การขยายและการบูรณาการแก่หน่วยงานเครือข่ายในพื้นที่

  31. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามและการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัสในประเทศไทย (Strengthening the monitoring and prevention system for HIV drug resistance-EWI)

  32. กิจกรรมหลักของโครงการกิจกรรมหลักของโครงการ • การติดตามตัวชี้วัดสัญญาณเตือนการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัส (EWI) • การติดตามความชุกและอุบัติการณ์เชื้อเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสในผู้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (Cohort study2013) • การพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลสายพันธุ์เชื้อเอชไอวีดื้อยา (HIVDR databank)

  33. การติดตามและเฝ้าระวังการเกิดเชื้อดื้อยาการติดตามและเฝ้าระวังการเกิดเชื้อดื้อยา • กรมควบคุมโรค ได้พัฒนาตัวชี้วัดสัญญาณเตือนการเกิดเชื้อดื้อยาเพื่อเฝ้าระวังและติดตามการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อต่อยาต้านไวรัสในระบบสุขภาพ และตัวชี้วัดประสิทธิผลการดูแลรักษา ตัวชี้วัดเหล่านี้ ได้บรรจุอยู่ในระบบการรายงานของระบบประกันสุขภาพ ซึ่งสามารถรายงานแนวโน้มการเกิดเชื้อดื้อยาและประสิทธิผลการดูแลรักษาของหน่วยงานได้ ทั้งระดับหน่วยบริการสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานป้องกันควบคุมโรค

  34. ตัวชี้วัดสัญญาณเตือนการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา (EWI) • T-EWI 1: การติดตามประสิทธิภาพการรักษาโดยติดตามความครอบคลุมของตรวจ VL และผลการตรวจ • T-EWI 2: การติดตามเวชปฏิบัติด้านการให้เริ่มให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสสูตรพื้นฐานตามมาตรฐาน • T-EWI 3: การติดตามผลการเข้าถึงบริการยาต้านฯ อย่างต่อเนื่อง โดยการยังคงได้รับยาสูตรพื้นฐาน • T-EWI 4: การติดตามผลการเข้าถึงบริการรักษาโดยยังคงมารับบริการต่อเนื่อง ไม่ขาดการติดตาม • T-EWI 5: การติดตามผลการเข้าถึงบริการรักษา โดยยังคงมารับบริการรักษาและรับยาต้านตรงตามนัด • T-EWI 6: การติดตามวินัยการกินยาของผู้รับบริการที่กินยาสม่ำเสมอ ตรงเวลา • T-EWI 7: การติดตามผลการบริหารจัดการคลังยาที่มีมาตรฐาน และคลังยามียาที่มีคุณภาพเพียงพอ

  35. EWI วัตถุประสงค์ : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามตัวชี้วัดฯ ในผู้ป่วยที่รับ การรักษาด้วยยาต้านไวรัสระดับโรงพยาบาล ระดับจังหวัด ระดับเขตและระดับประเทศ : สร้างเสริมความสามารถและศักยภาพในระดับจังหวัด และระดับเขต เพื่อการสำรวจและวิเคราะห์ตัวชี้วัด สัญญาณเตือนการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา กลุ่มเป้าหมาย : ระดับพื้นที่ 13 เขต (สคร.+กทม.) และโรงพยาบาล 39 แห่ง Output : รูปแบบการดำเนินงานในหน่วยบริการสุขภาพ เพื่อการป้องกัน การเกิดเอชไอวีดื้อต่อยา โดยใช้ตัวชี้วัดฯ (EWI) 7 ตัวชี้วัด

  36. Cohort Study 2013 วัตถุประสงค์ : เพื่อติดตามอุบัติการณ์การเกิดเชื้อเอชไอวีที่ดื้อต่อยาต้านไวรัสรวมทั้งศึกษาลักษณะการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสเอชไอวีที่เกิดขึ้น กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 400 ราย จาก 4 รพ. (ตัวแทนระดับภาค) ได้แก่ รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์, รพ.สรรพสิทธประสงค์, รพ.พระจอมเกล้า เพชรบุรี และรพ.ตรัง Output : ข้อมูลอุบัติการณ์การเกิด HIVDR ซึ่งสามารถนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ปัจจัยทางระบาดวิทยาที่เกี่ยวข้องกับปัญหา HIVDR

  37. HIVDR databank วัตถุประสงค์ : พัฒนาระบบการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลสายพันธุกรรมที่ตรวจในผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ เพื่อนำมาเป็น ฐานข้อมูลสายพันธุกรรมของประเทศไทย กลุ่มเป้าหมาย : หน่วยงานที่มีการตรวจและการจัดเก็บข้อมูลสายพันธุกรรมใน เขตพื้นที่ 13 เขต Output : มีแนวทางและระบบการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลสายพันธุกรรมที่ ตรวจในผู้ติดเชื้อฯ เพื่อนำมาเป็นฐานข้อมูลสายพันธุกรรมของประเทศไทย

  38. แผนการดำเนินงาน • การวิเคราะห์และนำข้อมูลเบื้องต้นจากข้อมูล NAP ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อติดตามตัวชี้วัดฯ • การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและใช้ฐานข้อมูล NAP เพื่อประมวลผลสำหรับการติดตามตัวชี้วัดฯ • สร้างเสริมแนวทางการผสานการดำเนินงานการเก็บข้อมูลเพื่อการติดตามตัวชี้วัดฯ เข้าไปในระบบบริการปกติ • พัฒนารูปแบบกิจกรรมการป้องกัน HIVDR โดยการติดตามตัวชี้วัดฯ • พัฒนาแนวทางการป้องกันการเกิดปัญหาเชื้อเอชไอวีดื้อยา • สร้างเสริมความสามารถและศักยภาพของในระดับเขต และจังหวัด เพื่อการวิเคราะห์ตัวชี้วัดฯ • การพัฒนาฐานข้อมูลเชื้อเอชไอวีดื้อยา เพื่อเป็นข้อมูลอ้างอิงในอนาคต • การติดตามความชุกเชื้อเอช ไอ วี ที่ดื้อยาต้านไวรัสก่อนเริ่มรับการรักษา และติดตามอุบัติการณ์การเกิดเชื้อไอวีดื้อยาในผู้เริ่มรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส (Cohort 2013)

  39. Data management Drug stock management NAPHA EXTENSION Monitoring Evaluation Lab network

  40. Thank You !

  41. ขอขอบคุณ สำนักโรคเอดส์ ฯ ขอขอบคุณ คณะเจ้าหน้าที่ในหน่วยบริหารโครงการฯ ทุกระดับ และในหน่วยบริการทุกแห่งที่ได้จัดบริการยาต้านไวรัสและบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้แก่ผู้ป่วยเอดส์ซึ่งเป็นผู้ที่มีข้อจำกัดในการเข้าถึงสิทธิ และเป็นผู้ป่วยที่อยู่นอกสิทธิ ระบบประกันสุขภาพ จนทำให้ผู้ป่วยเหล่านี้ได้รับบริการที่จำเป็นและทำให้กลับมามีสุขภาพดี LOGO

More Related