890 likes | 1.64k Views
MG424 Strategic Management and Business Policy. Strategic Management. บรรยาย โดย อ.จรินทร์ อาสาทรงธรรม ภาควิชาการจัดการธุรกิจสมัยใหม่. เนื้อหาการบรรยาย. 1. ความหมายกลยุทธ์. 2. ความสำคัญกลยุทธ์. 3. คุณสมบัติของผู้บริหารที่กำหนดกลยุทธ์. 4. ขั้นตอนการกำหนดกลยุทธ์. 5. ระดับของกลยุทธ์.
E N D
MG424 Strategic Management and Business Policy Strategic Management บรรยาย โดย อ.จรินทร์ อาสาทรงธรรม ภาควิชาการจัดการธุรกิจสมัยใหม่
เนื้อหาการบรรยาย 1. ความหมายกลยุทธ์ 2. ความสำคัญกลยุทธ์ 3. คุณสมบัติของผู้บริหารที่กำหนดกลยุทธ์ 4. ขั้นตอนการกำหนดกลยุทธ์ 5. ระดับของกลยุทธ์
ความหมายของกลยุทธ์ (Strategy) (1) กลยุทธ์ ในภาษากรีก มาจากคำว่า Strategiaหมายถึง ศาสตร์และศิลป์ในการบังคับบัญชากองทัพ (2) กลยุทธ์ คือการตัดสินใจที่สัมพันธ์กับการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
(3) Bruce Henderson กล่าวว่า กลยุทธ์ “เป็นการค้นหาอย่างไตร่ตรองและรอบคอบ เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการ ที่สามารถนำไปพัฒนาความได้เปรียบในการแข่งขัน และความสามารถให้แก่ธุรกิจ” ความได้เปรียบในการแข่งขัน = ความแตกต่างระหว่างองค์กรกับคู่แข่ง จะเป็นพื้นฐานของความได้เปรียบทางธุรกิจ
(4) กลยุทธ์ หมายถึง หนทางหรือวิธีการที่จะนำไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ เป้าหมาย ในอนาคต กลยุทธ์ Strategy องค์การ ปัจจุบัน
ตัวอย่างของกลยุทธ์ • Southwest Airlines เป็นสายการบินที่ทำกำไรสูงสุดราคาถูกในอเมริกาเหนือ โดยสร้างความแตกต่างด้วยกลยุทธ์ • ตั๋วเครื่องบินราคาถูก • มีเที่ยวบินถี่ขึ้น • บริการเฉพาะจุดถึงจุด • เน้นความพึงพอใจของลูกค้า
ตัวอย่างของกลยุทธ์ • eBay เป็น website การซื้อ-ขาย สินค้ามือสองด้วยวิธีการประมูลแบบออนไลน์ และวิธีการประมูลแบบง่ายๆ • แต่ได้มาตรฐาน • ครอบคลุมทุกพื้นที่ • ประมูลออนไลน์ • บริการแตกต่างจากคู่แข่ง
ตัวอย่างของกลยุทธ์ • รถยนต์รุ่น Prius ของ Toyota ใช้เครื่องยนต์แบบไฮบริดจ์ • ใช้น้ำมันและไฟฟ้า ก็ได้ • กลุ่มลูกค้าที่ต้องการรักษาสิ่งแวดล้อม • ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาต่ำ • เป็นรถยนต์รุ่นล่าสุดในวิศวกรรมรถยนต์
ตัวอย่างของกลยุทธ์ “โดมิโนพิชช่า” ใช้กลยุทธ์ Cost Leadership โดยเน้นตัวผลิตภัณฑ์ดี ไม่เน้นความหรูหราของร้าน การประชาสัมพันธ์ เพื่อเป็นการประหยัดต้นทุน “พิซซ่าฮัท” ทำกลยุทธ์ตรงข้าม ซึ่งทั้งคู่ก็ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี
การบริหารเชิงกลยุทธ์(Strategic Management) • ความหมาย • การวางแผนการดำเนินงานและควบคุมในแนวทางเชิง • กลยุทธ์ ซึ่งจะช่วยให้การบริหารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ • กระบวนการวางแผนการดำเนินงานโดยใช้กลวิธีต่างๆอย่างมีชั้นเชิง สำหรับการปฏิบัติงานและควบคุม เพื่อให้องค์การบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
ลักษณะสำคัญของการบริหารเชิงกลยุทธ์ลักษณะสำคัญของการบริหารเชิงกลยุทธ์ • เป็นแผนระยะยาวที่ใช้ในการแข่งขันทางการค้า • เป็นการใช้ทรัพยากรที่เน้นความสำคัญของการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม • เป็นการจัดการที่มีความรวดเร็วในการโต้ตอบกับคู่แข่ง ทางการค้า
ความสำคัญของการบริหารเชิงกลยุทธ์ความสำคัญของการบริหารเชิงกลยุทธ์ * องค์กรอยู่ภายใต้อิทธิพลสภาพแวดล้อมที่ซับซ้อน เปลี่ยนแปลงมาก * วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อนอุปสรรค และโอกาส ได้ถูกต้อง * ทำให้องค์กรสามารถปรับตัวและดำรงต่อไปได้ กรณีศึกษา
คุณสมบัติของผู้บริหารที่ทำหน้าที่กำหนดกลยุทธ์คุณสมบัติของผู้บริหารที่ทำหน้าที่กำหนดกลยุทธ์ 1.เป็นบุคคลที่มีความรอบรู้ในธุรกิจชนิดนั้นเป็นอย่างดี 2.เป็นบุคคลที่มองการณ์ไกลมีวิสัยทัศน์ดี 3.เป็นบุคคลที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง 4.เป็นบุคคลที่มีความอดทนไม่ท้อแท้ 5.เป็นบุคคลที่มีมนุษย์สัมพันธ์ดี ตัวอย่าง ธนินทร์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการเครือเจริญโภคภัณฑ์ "ยุทธศาสตร์ของซีพีมุ่งเจาะ 3 ธุรกิจหลักคือ ธุรกิจอาหาร โทรคมนาคม และค้าปลีก ยิ่งกว่านั้น ยังได้รวมบริษัทอุตสาหกรรมด้านการเกษตร 9 บริษัทเปิดแนวรุกใหม่ในฐานะ "ครัวของโลก"
ขั้นตอนของการบริหารเชิงกลยุทธ์ • การวางแผนกลยุทธ์ • (Strategic Formulation) • 2. การปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ • (Strategic Implementation) • 3. การประเมินผลกลยุทธ์ • (Strategic Evaluation)
1.Strategic Formulation 3.Strategic Evaluation 2.Strategic Implementation ขั้นตอนของการบริหารเชิงกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์ • การงานตามกลยุทธ์ • การวางแผน • การจัดองค์การ • การประเมินสภาพ • การนำ • การควบคุม • การควบคุมกลยุทธ์ • การประเมินผลแลควบคุม • กลยุทธ์ระดับองค์การ • การประเมินผลแลควบคุม • กลยุทธ์ระดับธุรกิจ • การประเมินผลแลควบคุม • กลยุทธ์ระดับหน้าที่ • การกำหนดกลยุทธ์ • องค์การ • กลยุทธ์ระดับบริษัท • กลยุทธ์ระดับธุรกิจ • กลยุทธ์ระดับหน้าที่ • การวิเคราะห์สถานการณ์ • การทบทวนพันธกิจ • และเป้าหมาย • การประเมินสภาพแวด • ล้อมภายใน • การประเมินสภาพแวด • ล้อมภายนอก
การควบคุมกลยุทธ์ 1.Establishing Standard 2.Measure Performance 4.Correcting 3.Compare performance to standard
ระดับของกลยุทธ์ (Levels of Strategy) แบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ 1. Corporate Strategy 2. Business Strategy 3. Functional Strategy
Corporate level Business level Functional level กลยุทธ์ระดับบริษัท กลยุทธ์ระดับ ธุรกิจ กลยุทธ์ระดับ ธุรกิจ กลยุทธ์ระดับ ธุรกิจ กลยุทธ์ระดับ หน้าที่ กลยุทธ์ระดับ หน้าที่ กลยุทธ์ระดับ หน้าที่
กลยุทธ์/ยุทธ์ศาสตร์ของบริษัท กลยุทธ์/ยุทธ์ศาสตร์ของบริษัท • Corporate Strategy • แบ่งออกได้เป็น 3 กลยุทธ์ • Growth Strategies • Stability Strategy • Retrenchment Strategy
Growth Strategies(กลยุทธ์การขยายตัว) • ในสภาวะปกติธุรกิจส่วนใหญ่นิยมใช้กลยุทธ์นี้เมื่อมีโอกาส • ขยายตัวมากขึ้น เพิ่มส่วนแบ่งตลาด เพิ่มยอดขาย • ผู้บริหารจะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ(เสี่ยงมาก) • เป็นกลยุทธ์ที่ต้องการขยายธุรกิจทั้งผลิตภัณฑ์และตลาด • ให้เติบโตยิ่งขึ้น เครือปูนซีเมนต์ไทย (Siam Cement Group) ได้ประกาศลงมือก่อสร้างโรงงานผลิตกระดาษบรรจุภัณฑ์ในไตรมาสที่ 3 มูลค่ากว่า 220 ล้าน US$
กลยุทธ์การเจริญเติบโตมี 2 ลักษณะ 1. กลยุทธ์การเจริญเติบโตที่มุ่งเน้นความเชี่ยวชาญ (Concentration Growth Strategy) 2. กลยุทธ์การเจริญเติบโตที่มุ่งเน้นการกระจายธุรกิจ(Diversification Growth Strategy)
กลยุทธ์การเจริญเติบโตที่มุ่งเน้นความเชี่ยวชาญกลยุทธ์การเจริญเติบโตที่มุ่งเน้นความเชี่ยวชาญ * ใช้เมื่อธุรกิจเห็นโอกาสในการทำตลาด (Demand >Supply) * ธุรกิจจะทุ่มเท การวิจัย การตลาด การผลิต * เน้นสินค้าหรือบริการในตลาดใดตลาดหนึ่ง * อาจจะขยายตัวไปข้างหน้า (Forward ) / ถอยข้างหลัง (Backward)
ข้อดี - สามารถสร้างจุดแข็งของธุรกิจในการแข่งขันเพราะเกิดความชำนาญ ข้อเสีย - มีความเสี่ยงเพราะฝากไว้กับสินค้าชนิดเดียวเช่น ธุรกิจก่อสร้าง ตัวอย่าง
กลยุทธ์สำหรับการเติบโตแบ่งได้ 2 ชนิด 1. กลยุทธ์การเจริญเติบโตตามแนวนอน (Horizontal Growth Strategy) 2. กลยุทธ์การเจริญเติบโตตามแนวดิ่ง (Vertical Growth Strategy) กลยุทธ์การเจริญเติบโต ตามแนวนอน กลยุทธ์การเจริญเติบโต ที่มุ่งเน้นความเชี่ยวชาญ กลยุทธ์การเจริญเติบโต ตามแนวดิ่ง
บริษัทเรา ผู้ขาย วัตถุ ดิบ พ่อค้าคนกลาง ผู้บริโภค คู่แข่ง แผนภาพแสดงระบบงานทางการตลาดเพื่อใช้ศึกษาเรื่องกลยุทธ์การขยายตัว
ขยายตัวแนวนอน (Horizontal Integration) เป็นการขยายการเติบโตที่เกี่ยงข้องกับธุรกิจเดิม โดย เข้าครอบครองหรือควบคุมคู่แข่งขันในธุรกิจเดียวกัน หรือเป็นตลาดที่คล้ายคลึงกัน ตัวอย่าง
การขยายตัวในแนวดิ่ง (Vertical Integration) เป็นการขยายการเติบโตในธุรกิจเดิมด้วยกลยุทธ์ในการรวมตัวตามแนวดิ่ง ความหมายคือ การเป็นเจ้าของหรือการควบคุม ตั้งแต่สิ่งป้อนเข้า (Input)ไปยังกระบวนการ (Process)หรือช่องทางต่างๆไปยังสินค้าสำเร็จรูป (Output) แบ่งเป็น 2 วิธี
ขยายตัวไปข้างหลัง(Backward Integration) การขยายธุรกิจย้อนกลับไปเป็นผู้จัดหาหรือผู้จัดจำหน่ายกลับมาให้ธุรกิจ ปัจจุบันของตนซึ่งจะมีประโยชน์ในการช่วยให้เกิดการครอบคลุมธุรกิจ ได้ครบวงจร ทำสวนผลไม้ ผู้ผลิตน้ำผลไม้ ตัวอย่าง 1. ปั๊มน้ำมัน ปตท. โรงกลั่นน้ำมันไทยออยล์ 2.
ขยายตัวไปข้างหน้า (Forward Integration) การขยายธุรกิจตรงไปข้างหน้า ภายในสายธุรกิจของตนเองปัจจุบัน โดยทำการมุ่งสู่ตลาดหรือลูกค้าโดยตรง ไม่ต้องผ่านตัวแทนจำหน่าย ร้านค้าปลีก ผู้ผลิตน้ำผลไม้ ศูนย์จำหน่าย ผู้ผลิตยางรถยนต์
ขยายตัวไปข้างหน้า(Forward Integration) ผู้ผลิต ร้านค้าปลีก Growth Strategy
Backward Integration เพื่อใกล้ชิดผู้จัดจำหน่าย Forward Integration เพื่อใกล้ชิดลูกค้า ผู้จัดจำหน่าย ธุรกิจ ลูกค้า
กลยุทธ์การเจริญเติบโตที่มุ่งเน้นการกระจายธุรกิจกลยุทธ์การเจริญเติบโตที่มุ่งเน้นการกระจายธุรกิจ จะกระจายการลงทุนไปในหลายธุรกิจ สร้างความหลากหลายและความแตกต่าง ในการดำเนินงาน ซึ่งอาจเกี่ยวพันหรือไม่เกี่ยวพันกับธุรกิจเดิมเลยก็ได้
แบ่งออกเป็น 2 กลยุทธ์ • กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบเกาะกลุ่ม • (Concentric Diversification) • กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่ม • (Conglomerate Diversification) กลยุทธ์การกระจาย ธุรกิจแบบเกาะกลุ่ม กลยุทธ์การเจริญเติบโต ที่มุ่งเน้นการกระจายธุรกิจ กลยุทธ์การกระจาย ธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่ม
กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบเกาะกลุ่ม(Concentric Diversification) • เป็นการขยายธุรกิจไปสู่ผลิตภัณฑ์ชนิดอื่น • ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจเดิม • กลยุทธ์นี้เหมาะกับองค์การที่มีตำแหน่งทางการแข่งขันที่เข็มแข็ง • นำเอาทักษะและความชำนาญหรือทรัพย์สินไปใช้ในธุรกิจเดิม • ช่วยให้เกิดการประหยัด (Economy of Scale)
ฟาร์ม เลี้ยงหมู ฟาร์ม เลี้ยงไก่ ฟาร์ม เลี้ยงปลา
จำหน่ายอิฐ หิน ปูน ทราย ขายเหล็ก ขายไม้
กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบเกาะกลุ่ม (Concentric Diversification) ธุรกิจอาหาร Growth Strategy
กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่ม (Conglomerate Diversification) เป็นการขยายธุรกิจไปสู่ธุรกิจอื่นที่ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์เดิม ธุรกิจอาจเลือกใช้กลยุทธ์นี้ เนื่องจากธุรกิจเดิมเจริญเติบโตลดลง หรือมีช่องทางในการดำเนินธุรกิจใหม่
กรณีศึกษา กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่ม Conglomerate Diversification Growth Strategy
กรณีศึกษา กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่ม กรณีศึกษา กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่ม Conglomerate Diversification บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย ผลิตปูนซีเมนต์ ธุรกิจปิโตรเคมี
กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่มกลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่ม กรณีศึกษา กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่ม (แต่เน้นการเป็นพันธมิตรกัน) • ห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์+โรงแรมสยามคอนติเนนตอล • สยามพารากอน
กรณีศึกษา กลยุทธ์การกระจายธุรกิจแบบไม่เกาะกลุ่ม Conglomerate Diversification ซื้อ บริษัท Coca Cola บริษัท Columbia Picture
กลยุทธ์การเจริญเติบโต กลยุทธ์การเจริญเติบโต ตามแนวนอน กลยุทธ์การเจริญ เติบโตที่มุ่งเน้น ความเชี่ยวชาญ กลยุทธ์การเจริญเติบโต ตามแนวดิ่ง กลยุทธ์การ เจริญเติบโต กลยุทธ์การกระจายธุรกิจ แบบเกาะกลุ่ม กลยุทธ์การเจริญ เติบโตที่มุ่งเน้น การกระจายธุรกิจ กลยุทธ์การกระจายธุรกิจ แบบไม่เกาะกลุ่ม
Stability Strategiesแบ่งออกเป็น 3 กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์การยับยั้งหรือการดำเนินการด้วยความระมัด ระวัง(Pause or Proceed with CautionStrategy) 2. กลยุทธ์การไม่เปลี่ยนแปลง (No Change Strategy) 3. กลยุทธ์การทำกำไร (Profit Strategy)